กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1074
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | จินตนา วัชรสินธุ์ | th |
dc.contributor.author | มณีรัตน์ ภาคธูป | th |
dc.contributor.author | ทวีลาภ ตั๊นสวัสดิ์ | th |
dc.contributor.author | นฤมล ธีระรังสิกุล | th |
dc.contributor.author | ศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์ | th |
dc.contributor.author | กมลทิพย์ ด่านชัย | th |
dc.contributor.author | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:01:14Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:01:14Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1074 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเชิงทำนายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ ปัญหา ความต้องการการสนับสนุนทางสังคม สัมพันธภาพในครอบครัว ความสัมพันธ์ระหว่างญาติผู้ดูแลและผู้ป่วยเด็ก ความรู้สึกเป็นภาระในการดูแล ภาวะสุขภาพ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง เพื่อทำนายพลังอำนาจของญาติผู้ดุแลเด็กป่วยเรื้อรังที่บ้าน ในเขตภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลเด็กป่วยเรื้อรังที่บ้านจำนวน 319 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไปของครอบครัว แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม สัมพันธภาพในครอบครัว ความสัมพันธ์ระหว่างญาติผู้ดูแลและผู้ป่วยเด็ก ความรู้สึกเป็นภาระในการดูแล ภาวะสุขภาพ ความรู้สึก มีคุณค่าในตนเอง ความต้องการขอญาติผู้ดูแล และพลังอำนาจของญาติผู้ดูแล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิงด้วยการวิเคราะห์ถดถอย (Multiple Regression) ผลการวิจัยพบว่า เด็กป่วยด้วยโรคเรื้อรังและพิการด้วยโรคหอบหืดมากที่สุด และโรคที่พบรองลงมาคือโรคธาลัสซีเมีย ส่วนใหญ่ผู้ดูแลเป็นมารดาของเด็กป่วย และได้รับการสนับสนุนทางสังคมของครอบครัวอยู่ในระดับมาก มีสัมพันธภาพในครอบครัวอยู่ในระดับดี มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองอยู่ในระดับสูง มีความสัมพันธ์กับผู้ป่วยเด็กอยู่ในระดับปานกลาง มีภาวะสุขภาพอยู่ในระดับดี มีความต้องการของผู้ดูแลอยู่ในระดับปานกลาง มีความรู้สึกเป้นภาระในการดูแลอยู่ในระดับน้อย และมีพลังอำนาจอยู่ในระดับสูง ปัจจัยที่สามารถทำนายพลังอำนาจของผู้ดูแลเด็กป่วยเรื้อรังได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือสัมพันธภาพในครอบครัว ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความสัมพันธ์ระกว่างผู้ดูแลกับผู้ป่วยเด็ก ภาวะสุขภาพของผู้ดูแล และความต้องการของผู้ดูแล และสามารถร่วมกันอธิบายการผันแปรของพลังอำนาจของญาติผู้ดูแลในการดูแลป่วยเรื้อรังได้ร้อยละ 44.5 | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ.2546-2547 | en |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การดูแลสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง - - การดูแล | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | สถานการณ์ ปัญหา ความต้องการ และพลังอำนาจของญาติผู้ดูแลเด็กป่วยเรื้อรังที่บ้าน | th_TH |
dc.title.alternative | Evidence, problems, needs, and empowerment in family caregiver of chronically III children | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2547 | |
dc.description.abstractalternative | The primary purpose of this study was to explore evidence, problems, need, and empowerment in family caregiver of chronically ill children. The secondary purpose was to examine the predicted relationships among family social support, family relationship, family caregiver-child relationship, burden, health status, self-esteem, caregiving needs, and empowerment. The sample of the study consisted of 319 primary family caregivers living in Eastern region of Thailand. The measurements used in this study were questionnaires to measure variables. Descriptive statistics including percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis were performed for data analysis. The result showed that first chronic disease in these children was asthmatic bronchitis and the second disease was Thalassemia. Most of family caregiver was family caregivers of chronically ill children had high level of family social support, family relationship, self-esteem, health status, and empowerment while had moderate level of family caregiver-child relationship, family caregiver-child relationship, self-esteem, health status, and needs predicted family caregivers’ empowerment, explaining 44.5% of the variance. The findings suggest that intervention programs that increase family relationship, family caregiver-child relationship, self-esteem, health status, and caregiving needs may improve empowerment of family caregivers. Furthermore, the rick and protective factors of family caregivers’ empowerment require more exploration. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2566_180.pdf | 4.42 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น