กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1065
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วัลลดา เล้ากอบกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:01:14Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:01:14Z | |
dc.date.issued | 2548 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1065 | |
dc.description.abstract | มีผลงานวิจัยหลายเรื่องได้ศึกษาวิธีการทำลายเชื้อปากคีบส่งต่อ (Transfer forceps) ที่เหมาะสม เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และลดค่าใช้จ่ายที่เกินความจำเป็น ส่วนใหญ่เป้นการศึกษาในหอผู้ป่วย ผลพบอัตราการปนเปื้อนเชื้อแตกต่างกัน การศึกษาวิจัยกึ่งทดลองนี้ เป็นการศึกษาเปรียบเทียบอัตราการปนเปื้อนจากการใช้ Transfer forceps ที่ผ่านการอบไอน้ำร้อนแล้วเเช่น้ำยา 70% Alcohol with sodium nitrite และที่อบไอน้ำร้อนแล้วไม่แช่น้ำยา ที่อยู่บนรถทำแผลของแผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา ในเวรเช้า เวรบ่าย เเละเวรดึก ซึ่งมีสภาพแวดล้อมแตกต่างจากหอผู้ป่วย ด้วยการตรวจเพาะเชื้อจากส่วนปลายของปากคีบส่งต่อภายหลังการใช้งานนาน 8 ชั่วโมง จำนวน 126 ตัวอย่าง โดยแบ่งเป็น Transfer forceps ที่อบไอน้ำร้อน (Autoclave) แล้วแช่น้ำยา 70% Alcohol with sodium nitrite ซึ่งเป็นวิธีเดิมจำนวน 63 ตัวอย่าง และ Transfer forceps ที่อบไอน้ำร้อนแล้วไม่แช่น้ำยา จำนวน 63 ตัวอย่าง อัตราการปนเปื้อนของ Transfer forceps วิเคราะห์ด้วยร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า Transfer forceps ที่ผ่านการทำให้ปราศจากเชื้อด้วยการอบไอน้ำร้อนก่อนการแช่น้ำยา 70% Alcohol with sodium nitrite และไม่เเช่น้ำยา ไม่พบการปนเปื้อนของเชื้อใน Transfer forceps ทั้ง 2 กลุ่ม จากผลการวิจัยจึงเสนอแนะให้ใช้ Transfer forceps ที่ทำให้ปราศจากเชื้อด้วยการอบไอน้ำร้อน ไม่ต้องแช่น้ำยาทำลายเชื้อ แต่ต้องเปลี่ยนทุก 8 ชั่วโมง | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2547 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การทำลายเชื้อูป - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | การทำไร้เชื้อ | th_TH |
dc.subject | การพยาบาลฉุกเฉิน | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.subject | เวชภัณฑ์ | th_TH |
dc.subject | แพทย์. - - เครื่องมือและอุปกรณ์ | th_TH |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบการปนเปื่อนจากการใช้ transfer forceps ที่แช่น้ำยา 70% Alcohol with sodium nitrite และไม่แช่น้ำยาของห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Comparison of contamination rate between transfer forceps immersed in 70% Alcohol with sodium nitrite and dry keeping in Emergency Room Burapha University Hospital | |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2548 | |
dc.description.abstractalternative | There have been many research projects to study the proper method of disinfecting transfer forceps to maximize efficiency and reduce unnecessary expenses. Most studies have been conducted in wards, showing differences in contamination rates. This empirical study compares the contamination rates between transfer forceps, disinfected by autoclave, that are immersed in 70% alcohol with sodium nitrite and those stored with no disinfectant, after day, evening and night shifts. After 8 hours in the Emergency Room, Burapha University Hospital, Thailand, which is different from ward settings, the tips of 126 transfer forceps were cultured--63 samples had been autoclaved and immersed in the traditional disinfectant, whereas 63 others had been autoclaved but stored in dry keeping. Contamination rates were analyzed by percentage. No contamination of the transfer forceps was detected in either group of samples. Therefore, using sterile transfer forceps without disinfectant, changing them every 8 hours, is recommended for emergency rooms. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_108.pdf | 2.99 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น