กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10290
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ประสาร อินทเจริญ | - |
dc.contributor.author | อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ | - |
dc.contributor.author | ศรัณยา รักเสรี | - |
dc.date.accessioned | 2024-01-09T07:44:04Z | - |
dc.date.available | 2024-01-09T07:44:04Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10290 | - |
dc.description | งานวิจัยนี้ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทเงินรายได้ส่วนงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เลขที่สัญญา SCQ๐๘/๒๕๖๓ | th_TH |
dc.description.abstract | คณะผู้วิจัยทำการศึกษาผลจากการขนถ่ายผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังต่อคุณภาพน้ำและดินตะกอน บริเวณอ่าวศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยทำการสำรวจ และเก็บตัวอย่างในพื้นที่ทั้งหมด 1 ครั้ง ในเดือนสิงหาคม 2563 กำหนดจุดเก็บตัวอย่างครอบคลุมพื้นที่ศึกษาจำนวนรวมทั้งสิ้น 16 สถานี ค่าเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายน้ำในแต่ละบริเวณที่เก็บตัวอย่าง ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ในขณะที่แอมโมเนีย ไนไตรท์ ไนเตรท ปริมาณสารแขวนลอย และคลอโรฟิลล์ เอ ในน้ำในแต่ละบริเวณที่เก็บตัวอย่าง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารอินทรีย์ในดินตะกอนกับคุณภาพน้ำ และคุณภาพดินบางประการ (Pearson’s Correlation Coefficient(r); p<0.05) พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารอินทรีย์ในดินตะกอนกับปริมาณสารอินทรีย์ในน้ำ เป็นความสัมพันธ์ในเชิงบวกในทุกระดับความลึก สำหรับความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารอินทรีย์ในดินตะกอนกับคุณภาพน้ำที่สำคัญ ได้แก่ ปริมาณออกซิเจนละลายที่ระดับผิวน้ำเป็นความสัมพันธ์กันในเชิงบวก ที่ระดับกลางน้ำและระดับเหนือพื้นดินมีความสัมพันธ์กันในเชิงลบ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารอินทรีย์ในดินตะกอนกับแอมโมเนียไนไตรท์ ไนเตรท แอมโมเนีย เป็นความสัมพันธ์ในเชิงบวก และ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารอินทรีย์ในดินตะกอนกับคลอโรฟิลล์ เอ เป็นความสัมพันธ์ในเชิงบวก สำหรับความสัมพันธ์ของปริมาณสารอินทรีย์ในดินตะกอนกับไฮโดรเจนซัลไฟด์ในดินตะกอน เป็นความสัมพันธ์ในเชิงบวก และความสัมพันธ์ของปริมาณสารอินทรีย์ในดินตะกอนกับความเป็นกรด-ด่างในดินเป็นความสัมพันธ์ในเชิงลบ | th_TH |
dc.description.sponsorship | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คุณภาพน้ำ | th_TH |
dc.subject | มันสำปะหลัง | th_TH |
dc.title | ผลจากการขนถ่ายผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังต่อคุณภาพน้ำและดินตะกอนบริเวณอ่าวศรีราชา จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | The Effects of Cassava Products Handling on Water and Sediment Qualities at Sriracha Bay, Chonburi Province | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The research team studied the effect of cassava product loading on water quality and sediment in Sriracha Bay, Chonburi. The team conducted a survey and collected samples from the whole area once in August 2020 and set the sampling points covering the study area at a total of 16 stations. There were no statistically significant differences in the average dissolved oxygen content in each sampling area. On the contrary, there was a statistically significant difference for ammonia, nitrite, nitrate, suspended solids, and chlorophyll A in the water in each sample area. When we considered the relationship between organic matter content in sediment and water quality and some soil quality, we found a positive relationship at every depth level between the amount of organic matter in the sediment and the amount of organic matter in the water. The relationship between organic matter content in sediment and important water quality, i.e., dissolved oxygen at water surface level, was positive. At the midwater and above-ground levels, there was a negative correlation. The correlation between organic matter content in sediment and ammonia, nitrite, nitrate, and ammonia were positive, and the relationship between organic matter content in sediment and chlorophyll A was positive. The relationship of organic matter content in sediment to hydrogen sulfide in sediment was a positive relationship. Moreover, the relationship between organic matter content in sediment and soil pH was negative. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2567_134.pdf | 1.68 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น