กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10273
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพิมลพรรณ ทวีการ วรรณจักร-
dc.contributor.authorคุณาวุฒิ วรรณจักร-
dc.contributor.authorทัศวิญา พัดเกาะ-
dc.contributor.authorพรพิมล เหมือนใจ-
dc.contributor.authorอรชร บุญลา-
dc.contributor.authorจันทร์ทิพย์ นามสว่าง-
dc.date.accessioned2023-10-20T02:16:02Z-
dc.date.available2023-10-20T02:16:02Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10273-
dc.description.abstractปัจจุบันพบว่านักเรียนในระดับอุดมศึกษามีการใช้สมาร์ทโฟนกันอย่างแพร่หลาย การศึกษาเกี่ยวกับผล ของการเกิดโรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อในผู้ที่ใช้สมาร์ทโฟนมีมาไม่นาน ก่อนหน้านี้การศึกษาครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของท่าทางคอไหล่ อาการปวด ความตึงตัวของเส้นประสาทมีเดียนแรงบีบมือ การไหลเวียนเลือดส่วนปลายและสมรรถภาพปอดในนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ใช้สมาร์ทโฟนด้วยมือหนึ่งข้างและสองข้าง จากผลการศึกษาพบว่ามุมคอยื่นในกลุ่มเล่นมือถือด้วยมือหนึ่งข้างมีลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = ๐.๐๐๒) ภายหลังการใช้สมาร์ทโฟน ๓๐ นาทีเมื่อเปรียบเทียบภายในกลุ่ม กลุ่มเล่นมือถือด้วยมือสองข้างไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม ภาวะไหล่งุุ้มด้านขวาและซ้ายในสองกลุ่มมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายในกลุ่ม (p = ๐.๐๐๐๑, ๐.๐๐๓, ๐.๐๐๐๑, ๐.๐๓ ตามลำดับ) แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม แรงบีบมือด้านขวาและซ้ายในกลุ่มเล่นมือถือด้วยมือหนึ่งข้างไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายในกลุ่มแต่ในกลุ่มเล่นมือถือด้วยมือสองข้างมีค่าเฉลี่ยลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายในกลุ่ม (p = ๐.๐๐๒, ๐.๐๐๑ ตามลำดับ) และไม่พบความแตกต่างกันระหว่างกลุ่ม อาการปวดคอทั้งสองกลุ่มมีค่าเพิ่มขึ้นหลังการเล่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=๐.๐๐๐๑, ๐.๐๐๐๑ ตามลำดับ) แต่ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติระหว่างกลุ่ม อาการปวดบ่าไหล่ทั้งสองกลุ่มมีค่าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังการเล่น (p=๐.๐๐๐๑, ๐.๐๐๐๑ ตามลำดับ) และพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=๐.๐๔) ระหว่างกลุ่มอาการปวดข้อศอกในกลุ่มเล่นมือถือด้วยมือหนึ่งข้างมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังการเล่นเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=๐.๐๐๑) ส่วนในกลุ่มเล่นมือถือด้วยมือสองข้างมีไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม อาการปวดข้อมือทั้งสองกลุ่มมีค่าเพิ่มขึ้นหลังการเล่นเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=๐.๐๐๑, ๐.๐๓ ตามลำดับ) แต่ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มอาการปวดนิ้วมือและนิ้วโป้งในกลุ่มเล่นมือถือด้วยมือหนึ่งข้างมีค่าเฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้นหลังการเล่นเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=๐.๐๒, ๐.๐๐๓ ตามลำดับ) ส่วนในกลุ่มเล่นมือถือด้วย มือสองข้างมีไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มความตึงตัวของ เส้นประสาทมีเดียนทางด้านขวาและซ้ายของทั้งสองกลุ่มมีค่าเฉลี่ยมีค่าลดลงหลังการเล่นอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p=๐.๐๐๐๒, ๐.๐๐๐๑, ๐.๐๐๑, ๐.๐๒ ตามลำดับ) แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม การไหลเวียนของหลอดเลือดส่วนปลายบริเวณหน้าข้อมือ บริเวณ Radial artery และบริเวณ Ulnar artery ข้างขวาและข้างซ้ายทั้งสองกลุ่มไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม ค่า FVC, FEV1, FEV1/FVC, TV, IRV และ ERV ในกลุ่มเล่นมือถือด้วยมือหนึ่งข้างและสองข้างไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม และ ค่า VC ในกลุ่มเล่นมือถือด้วยมือหนึ่ งข้างไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายในกลุ่ม แต่ในกลุ่มเล่นมือถือด้วยมือสองข้างมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายในกลุ่ม (p=๐.๐๓) แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่ม จะเห็นได้ว่าท่าทางการใช้งานสมาร์ทโฟนที่แตกต่างกันอาจส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของมุมคอยื่นและอาการปวดบ่าได้th_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ 2564 คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสมาร์ทโฟนth_TH
dc.subjectกระดูก - -โรคth_TH
dc.subjectปวดไหล่th_TH
dc.subjectปวดคอth_TH
dc.titleผลของการใช้สมาร์ทโฟนด้วยมือหนึ่งข้างและสองข้างต่อท่าทางคอไหล่ อาการปวด ความตึงตัวของเส้นประสาทมีเดียน แรงบีบมือ การไหลเวียนเลือดส่วนปลายและสมรรถภาพปอดในนักศึกษาระดับอุดมศึกษาth_TH
dc.title.alternativeEffect of one and double hands use of smartphone on posture median nerve tension pain grip streipheral blood fiow and respiratory function in universityth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailvina_pin@hotmail.comth_TH
dc.author.emailkunavut@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailtadsawiya@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpornpimolm@buu.ac.thth_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeNowadays, several studies have assessed smartphone used among university students. A recent study on the effects of musculoskeletal disease in people using smartphones has been published recently. The purpose of this study was to compare differences in forward head posture, round shoulder posture, pain , median nerve tension, grip strength, peripheral blood circulation, and pulmonary function among University students using smartphones with one hand and both hands. The results found that, there was a statistically significant in CVA angle in the one-handed used group (p = 0.002) after 30 minutes of smartphone used when compared within the group. There were no statistically significant differences in two- hands used group, both within and between groups. Round shoulder posture at both sides in the one-handed used and two-handed used group showed a statistically significant within group (p = 0.0001, 0.003, 0.0001, 0.03, respectively), but there was no statistically significant between group. Grip strength at both sides in the one-handed used group showed no statistically significant within group, but there was statistically significant in the two-handed used group (p = 0.002, 0.001, respectively), but there was no statistically significant between groups. There was a statistically significant in neck pain in the one-handed and two-handed used group (p=0.0001, 0.0001, respectively) but there was no statistically significant between groups. There was a statistically significant in shoulder pain in the one-handed and two-handed used group (p=0.0001, 0.0001, respectively) and there was statistically significant between groupห (p=0.04). Elbow pain in the one-handed used showed a statistically significant (p=0.001), while there was no statistically significant in the two-handed used group within and between groups. Wrist pain for both groups showed a statistically significant (p=0.001, 0.0, respectively) there was no statistically significant between groups. Finger and thumb pain in the one-handed used showed a statistically significant (p=0.02, 0.0003, respectively), while there was no statistically significant in the two-handed used group within and between groups. Median nerve tension of both sides in both groups showed a statistically significant within group (p=0.0002, 0.0001,0.001, 0.02, respectively) there was no statistically significant between groups. Peripheral blood flow at both sides in both groups showed no statistically significant within and between groups. FVC, FEV1, FEV1/FVC, TV and IRV of both groups showed no statistically significant within and between groups. VC in the one-handed used group showed no statistically significant within group, but there was statistically significant in the two-handed used group (p = 0.03), but there was no statistically significant between groups. It can be seen that different smartphone usage postures can affect changes in forward head posture and shoulder pain.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2567_063.pdf952.95 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น