กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10270
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพรพรหม สุระกุล-
dc.contributor.authorกุลธิดา กล้ารอด-
dc.contributor.authorศิริรัตน์ เกียรติกูลานุสรณ์-
dc.contributor.authorนงนุช ล่วงพ้น-
dc.contributor.authorพรพิมล เหมือนใจ-
dc.contributor.authorจันทร์ทิพย์ นามสว่าง-
dc.contributor.authorคมวุฒิ คนฉลาด-
dc.date.accessioned2023-10-18T07:44:09Z-
dc.date.available2023-10-18T07:44:09Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10270-
dc.description.abstractภาวะความบกพร่องทางพัฒนาการการทำงานประสานสัมพันธ์กันของร่างกาย (Developmental coordination disorder หรือ DCD) พบว่ามีความผิดปกติทางด้านการทำงานประสานสัมพันธ์ของร่างกาย การทรงตัว และการเคลื่อนไหวที่มักแสดงให้เห็นในวัยเด็ก หากไม่ได้รับการแก้ไขอาจส่งผลต่อเนื่องเมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ตอนต้นซึ่งมักแสดงออกถึงความยากลำบากเมื่อต้องเผชิญกับการทำกิจกรรมที่ต้องอาศัยทักษะการเคลื่อนไหวที่ซับซ้อน มีรายงานเพิ่มเติมว่าภาวะ DCD ยังมีความเกี่ยวข้องกับความจำสำหรับการทำงานด้านการรับรู้ทางมิติสัมพันธ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรู้คิดในการที่จะทำให้บุคคลสามารถดำเนินกิจวัตรประจำวันได้อย่างอิสระ ในประเทศไทยยังขาดรายงานการศึกษาเกี่ยวกับภาวะ DCD ในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะการรู้คิดทางการเคลื่อนไหว ได้แก่ ความสามารถในการทรงตัว การทำงานสองอย่างในเวลาเดียวกัน ปฏิกิริยาการตอบสนองต่อการล้ม และการรู้คิดด้านมิติสัมพันธ์ของกลุ่ม ผู้ใหญ่ตอนต้นที่มีและไม่มีความเสี่ยงต่อภาวะ DCD ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยจะถูกสัมภาษณ์โดยนัก กายภาพบำบัดที่มีประสบการณ์ทางคลินิกเพื่อแยกออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยง (suspected) ต่อภาวะ DCD หรือ sDCD และกลุ่มควบคุมที่ไม่มีความเสี่ยงต่อภาวะ DCD ผู้เข้าร่วม โครงการวิจัยทุกคนจะถูกทดสอบความสามารถการทรงตัวขณะอยู่นิ่ง (static balance test) การทำงานสองอย่างในเวลาเดียวกัน (dual task test) บนเครื่อง biometric e-link four force plate version 14 (DFP4) การทดสอบปฏิกิริยาการตอบสนองต่อการล้ม (simple reaction time test) และการทำงานของสมองส่วนหน้าด้วยเครื่อง functional near-infrared spectroscopy (fNIRS) ขณะทำการทดสอบการ รู้คิดด้านมิติสัมพันธ์ จากการศึกษาพบการลดลงของการควบคุมการทรงตัวขณะอยู่นิ่งเมื่อรบกวน somatosensory system เมื่อให้ทำงานสองอย่างร่วมกันพบการลดลงของการควบคุมการทรงตัวในทุกเงื่อนไข และพบการลดลงของปฏิกิริยาการตอบสนองต่อการล้ม ในกลุ่ม sDCD เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมการทำงานสองอย่างร่วมกันทำให้มีการแบ่งความสนใจซึ่งบ่งบอกถึงการรู้คิด ในกลุ่ม sDCD อาจใช้การรู้คิดชดเชยความ บกพร่องทางการเคลื่อนไหวดังนั้นเมื่อการรู้คิดถูกรบกวนจึงส่งผลต่อการควบคุมการทรงตัวได้ การศึกษาต่อไปหากสามารถฝึกทักษะการรู้คิดทางการเคลื่อนไหวโดยเฉพาะด้านมิติสัมพันธ์อาจส่งผลให้ sDCD มี ทักษะทางการควบคุมการทรงตัวที่ดีขึ้นเป็นการลดความเสี่ยงต่อการล้มเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุต่อไปth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการเคลื่อนไหวth_TH
dc.subjectการเคลื่อนไหวของมนุษย์th_TH
dc.titleศึกษาภาวะการรู้คิดทางการเคลื่อนไหวในวัยผู้ใหญ่ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะความบกพร่องทางพัฒนาการ การทำงานประสานสัมพันธ์กันของร่างกายth_TH
dc.title.alternativeThe involvement of motor cognition in suspected adult developmental coordination disorderth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailpornprol@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailkultida@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailsiriratk@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailnongnuchl@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpornpimolm@buu.ac.thth_TH
dc.year2565th_TH
dc.description.abstractalternativeDevelopmental Coordination Disorder (DCD) is as a neurodevelopmental problem manifested in impairments of body coordination, balance and movement, which in turn affects later in life. Young adult with DCD characterizes the difficulty in complex motor skill. An increasing evidence that visuospatial working memory (WM) impairment is reported in young adult with DCD. WM domain of cognition is required for independently care of oneself. In Thailand, there have been rare report of DCD in young adult. Current study aimed to compare cognitive-motor skill, including balance control, dual task, reaction time and visuospatial WM in young adults with suspected (s) DCD, and typical developmental young adults. The participants were interviewed by a physical therapist to classify as sDCD and control groups. All participants were tested, including ability to maintain static balance test, ability to perform dual task on the Biometric e-link four force plate version 14 (DFP4), ability to perform simple reaction time test and measurement brain activity by functional nearinfrared spectroscopy (fNIRS) when doing visuospatial WM tasks. Our results showed the decreases in ability to maintain static balance test when disturb somatosensory system, dual task and simple reaction time test in sDCD young adult as compared to control. The data may imply abnormal motor cognition that manifested in impairments of balance and movement control in sDCD young adults. Of interest, the perturbations of cognition made more difficult to maintain balance, as well. Further study, improvement of visuospatial WM-specific task may alleviate impairments of balance and movement control in sDCD.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2567_058.pdf7.01 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น