กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10261
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพีระศักดิ์ เพียรประสิทธิ์-
dc.date.accessioned2023-10-02T06:07:12Z-
dc.date.available2023-10-02T06:07:12Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10261-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการเรียนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรม ซึ่งผู้ใช้งานระบบมี 2 ประเภท คือ อาจารย์และนักศึกษา โดยอาจารย์สามารถจัดการข้อมูลปีการศึกษา ข้อมูลแท็กสำหรับโจทย์ปัญหา สร้างรายวิชา กลุ่มเรียน เพิ่มนักศึกษาเข้ากลุ่มเรียนรายวิชา จัดการคลังโจทย์ปัญหา มอบหมายงานให้กับนักศึกษาในแต่ละกลุ่มเรียนของรายวิชาส่วนนักศึกษาสามารถส่งไฟล์ซอร์สโค๊ดเพื่อส่งงานได้รับมอบหมาย และสามารถดูผลลัพธ์การเขียนโปรแกรมของตนเองได้ทันที ซึ่งช่วยให้นักศึกษาสามารถทราบผลลัพธ์ความถูกต้องของซอร์สโค๊ดที่ตนเองส่งได้อย่างรวดเร็วและสามารถส่งงานใหม่ได้ตามที่ต้องการ นอกจากนี้ อาจารย์ยังสามารถนำข้อมูลโจทย์ปัญหาที่สร้างไว้มาใช้งานและสามารถดูประวัติการส\งงานของนักศึกษา รวมถึงดูคะแนนของนักศึกษาได้อย่างสะดวก ผลประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ระบบเอื้อต่อการใช้งานและมีความเหมาะสมกับการเรียนการเขียนโปรแกรม ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และฝaกฝนการเขียนโปรแกรมผ่านระบบได้ดี แต่อย่างไรก็ตาม ควรพัฒนาฟิวเจอร์เพิ่มเติม เช่น แดชบอร์ด ฟังก์ชันแนะนำโจทย์ปัญหาและเพิ่มความปลอดดภัยสำหรับการสอบth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศth_TH
dc.subjectการเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์)th_TH
dc.titleเครื่องมือสนับสนุนการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมth_TH
dc.title.alternativeThe supporting tool for learn programming in classroomth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailpeerasak@buu.ac.thth_TH
dc.year2566th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research develops an information system as a supporting tool for teaching and learning in programming. There are 2 types of system users: teachers and students. Teachers can manage the academic year, tag, course, and section, enroll students in sections, a question bank, and assign tasks to students in each group of subjects. Students can submit source code files to submit assignments and obtain the results of their programming immediately. That allows students to see the validity of their submitted source code quickly and can resubmit source code as needed. In addition, teachers can reuse the questions in other assignments, view student submission history, and track student submissions, including student scores. The evaluation from experts found that the system is conducive to use and suitable for programming learning. Students can learn and practice programming well through the system. However, additional features such as dashboards, problem suggestion functions, and increased security for the examination should be developed in the future.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2567_050.pdf14.09 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น