กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10257
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภัคณัฏฐ์ จันทนวรานนท์ สมพงษ์ธรรม
dc.contributor.advisorสถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.authorพีรวัฒน์ ศีติสาร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:57:05Z
dc.date.available2023-09-18T07:57:05Z
dc.date.issued2565
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10257
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2565
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในกลุ่มเครือข่ายแกลงบูรพา สังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติการสอนในกลุ่มเครือข่ายแกลงบูรพา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 96 คน โดยใช้เกณฑ์กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie & Morgan (1970, p.608) โดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ตอน เป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) ตอนที่ 1 มีค่าอำนาจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .40-.80 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .94 ตอนที่ 2 มีค่าอำนาจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .46-.80 มีค่าความเชื่อมั่น ทั้งฉบับ เท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson's product moment correlation coefficient) ผลการศึกษาพบว่า 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในกลุ่มเครือข่ายแกลงบูรพา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) องค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้น พื้นฐานในกลุ่มเครือข่ายแกลงบูรพา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับความ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในกลุ่มเครือข่ายแกลงบูรพา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 โดยรวมมีความสัมพันธ์ในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษา -- ไทย -- ระยอง
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในกลุ่มเครือข่ายแกลงบูรพา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2
dc.title.alternativeThe reltionship between trnsformtionl ledership of school dministrtors nd lerning orgniztion of schools in kleng burph cluster under the ryong primry eduction service re office 2
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the relationship between transformational leadership of school administrators and learning organization of schools in Klaeng Burapa cluster under the Rayong Primary Education Service Area Office 2. Determining a sample size by using a chart to determine a sample size of Krejcie & Morgan (1970, p.608) gained a sample size. The total of a selected sample were 96 people from stratified random sampling according to the school. The questionnaire was divided into two parts. The data were collected by the use of a 5 point rating scale questionnaire. The first part of the item discrimination was between .40-.80 and the reliability was at .94 and second part of the item discrimination was between .46-.80 and the reliability was at .96 . The statistics used in analyzing the data were Mean, Standard Deviation and Pearson Product Moment Correlation. The result of study were as follows 1) The transformational leadership of school administrators in Klaeng Burapa cluster under the Rayong Primary Education Service Area Office 2 were at a high level both in general and each aspect. 2) The learning organization of schools in Klaeng Burapa cluster under the Rayong Primary Education Service Area Office 2 were at a high level both in general and each aspect. 3) The relationship between transformational leadership of school administrators and learning organization of schools in Klaeng Burapa cluster under the Rayong Primary Education Service Area Office 2 was correlatively at A high level significant at the level of .01.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
63920286.pdf1.72 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น