กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10250
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภานุ สรวยสุวรรณ
dc.contributor.authorขิโรชา จรูญศักดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:57:03Z
dc.date.available2023-09-18T07:57:03Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10250
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractสภาวะสังคมในปัจจุบันมีผลกระทบต่ออารมณ์ความรู้สึกก่อตัวให้เกิดความเครียด หรือบางคนอาจจะถึงขั้นเป็นโรคซึมเศร้าได้การวิจัยครั้งนี้ต้องการศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียด และวิธีการจัดการกับความเครียด ซึ่งก็มีวิธีต่าง ๆ เช่น การผ่อนคลายหากิจกรรมทำการเล่าระบายให้เพื่อนหรือคนที่เราไว้ใจฟัง เนื่องจากทุกครั้งที่ได้ทำ งานศิลปะทำให้จิตใจเรามีสมาธิจดจ่ออยู่กับการทำงานช่วยผ่อนคลายความทุกข์ที่เกิดขึ้นได้ความเครียดที่เกิดขึ้นจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวภาระหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบได้ถูกนำมาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน จิตรกรรมด้วยการหยิบยืมภาพจิตรกรรมที่มีชื่อเสียงใช้สัญลักษณ์บางอย่างที่มีในงานมาผสมผสานกันกับเรื่องราวในสังคมปัจจุบัน และถ่ายทอดเรื่องราวจากประสบการณ์ของตนเองในช่วงชีวิตที่ผ่านมาการเสียดสีการตัดสินผู้อื่น บางสิ่งบางอย่างไม่สามารถบอกเล่าออกมาเป็นคำพูดได้จึงใช้งานศิลปะเป็นเครื่องมือในการระบายความรู้สึกผ่านมุมมองที่ดูขบขันแต่แฝงไปด้วยความรู้สึกขมขื่น กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานด้วยเทคนิคสีอะคริลิคใช้ภาพจิตรกรรมยุคเก่ามาเป็นต้นแบบในการวาดและเพิ่มเติมสัญลักษณ์ที่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน สื่อความหมายกับแนวคิดรูปแบบของแนวงานศิลปะแบบโลว์บราว หรือป๊อปเซอร์เรียลลิสม์เสียดสีสังคม งานศิลปะเป็นพื้นที่หนึ่งที่เราสามารถระบายความคิดความรู้สึกออกไปได้โดยที่ไม่ทำให้ใครเดือดร้อนระหว่างการทำงานสมาธิกับสิ่ง ๆ นั้นใจนิ่งสงบมากขึ้นเพราะในขณะที่เราทำได้คิดทบทวนได้ใช้เวลาอยู่กับตัวเอง บางครั้งเราอาจจะสนใจสิ่งรอบตัวจนมากเกินไปทำให้จิตใจเราไม่สงบศิลปะเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะช่วยเยียวยาจิตใจของและทำให้เราเป็นคนที่ดีขึ้น
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subjectการผ่อนคลาย
dc.titleศิลปกรรมผ่อนคลายความเครียดของสังคมในแง่มุมขบขัน
dc.title.alternativeArt for society’s tension therpy through the mused spects
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe current state of society affects mood and feelings, causing stress or even depression in some people. This research aims to study the factors that cause stress, and how to deal with stress. There are various methods such as relaxing, looking for activities to do and telling stories to friends or people we trust. Because every time we create art, our minds can concentrate on working that helps to relax the suffering that arises. Stress caused by the surrounding environment or responsibilities was taken as inspiration for the creation of paintings by borrowing famous paintings and using some symbols in the work to mix with the story in today's society and convey stories from their own experiences in the past. Sarcasm, judging others, or some things cannot be said in words. Therefore, art is used as a tool to express feelings through a humorous perspective but with a bitter feeling. The process of creating works with acrylic paint techniques, the use of old paintings as a model to draw and add symbols related to everyday situations to convey meaning to the concept of low-brow art style or pop surrealist social satire. Art is an area where we can express our thoughts and feelings without hurting anyone. During working with meditation, the mind is calmer because while we are working on it, we can think back and spent time with ourselves. Sometimes we may be too interested in our surroundings, causing our mind to be unsettled. Art is a tool that heals one's mind and make us a better person.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59920400.pdf7.45 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น