กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10235
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นุจรี ภาคาสัตย์ | |
dc.contributor.author | วีณา กรแก้ว | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:56:55Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:56:55Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10235 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการจัดการนวัตกรรมที่ส่งอิทธิพลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กรในอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยการวิจัยแบบผสานวิธีได้แก่ การวิจัยเชิงปริมาณเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้บริหารที่ปฏิบัติหน้าที่ภายในบริษัทในกลุ่มผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าและชิ้นส่วน จำนวน 312 คน ด้วยแบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์โมเดล สมการโครงสร้าง และการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้บริหารบริษัทผู้ผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนที่ได้รับรางวัลและมีชื่อเสียง จำนวน 3 คน และตัวแทนภาครัฐที่เกี่ยวเชิงนโยบาย คือ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานของจังหวัดในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1)โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการจัดการนวัตกรรมที่มีอิทธิพลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กรในอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ 2) ความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี แสดงให้เห็นว่าสามารถไปประยุกต์ใช้ได้จริง ( 2 ) เท่ากับ 223.84 องศาอิสระ (df) เท่ากับ 193 ค่า P-value เท่ากับ 0.063 ค่าไค-สแควร์สัมพันธ์ ( 2 / df) เท่ากับ 1.159 ค่า GFI เท่ากับ 0.943 และค่า AGFI เท่ากับ 0.912 ค่า (RMSEA) เท่ากับ 0.023 ตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถร่วมอธิบายการจัดการนวัตกรรม ความได้เปรียบทางการแข่งขันได้ร้อยละ 98.30 และ 94.20 ยังพบว่า 3) แนวทางการจัดการนวัตกรรม พบว่า ปัจจัยทุกตัวส่งผลต่อการจัดการนวัตกรรมซึ่งเป็นปัจจัยภายในองค์กร เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันและการพัฒนา อย่างยั่งยืน ผู้ผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนสมัยใหม่/ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเชิงนโยบายต้องบูรณาการความร่วมมือที่ชัดเจน ปัจจัยภายนอก คือ นโยบายภาครัฐและการมุ่งเน้นทางการตลาด | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก | |
dc.subject | การบริหารงานบุคคล | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์ | |
dc.title | ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการจัดการนวัตกรรมและความได้เปรียบทางการแข่งขันของกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกของประเทศไทย | |
dc.title.alternative | Cusl fctors influencing of innovtion mngement nd competitive dvntge of group next-genertion utomotive industry in estern thilnd specil development zone in thilnd | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to examine the consistency of the correlation model of causal factors of innovation management influencing the competitive advantage of the organization in the developed modern automotive industry which was based on empirical data. Mixed method research was used. In quantitative research, data were collected from 312 executives working within companies in the group of electric vehicle and parts manufacturers with questionnaires, and a structural equation model was used to analyze the data. In qualitative research, the data were collected from 3 executives of award-winning and reputable auto and parts manufacturing companies and representatives from government agencies involved in policy, namely the Office of Labor Protection and Welfare of the Provinces in the Eastern Special Development Zone, the Office of Board of Investment with in-depth interviews. Then, content analysis was used to analyze the data. The results of the research were as follows: 1) The causal relationship model of innovation management influenced the competitive advantage of the organization in the modern automotive industry. 2) The consistency with the empirical data was good. This showed that it was practically applicable. Chi-square = 223.84, degrees of freedom (df) = 193, P-value = 0.063, relative Chi-square ( 2 /df)= 1.159, GFI = 0.943, and AGFI = 0.912, and (RMSEA) value was 0.023. All variables in the model were able to contribute to innovation management, and competitive advantage was 98.30% and 94.20%. 3) Inthe innovation management approach, it was found that all factors within the organization affected innovation management. In order to create competitive advantages and sustainable development, manufacturers of modern automobiles and parts and policy-related agencies had to integrate clear cooperation. External factors were government policies and market focus. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | การพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์ | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
58870071.pdf | 9.53 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น