กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10232
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธีทัต ตรีศิริโชติ
dc.contributor.authorศุภรีย์พรรณ นันทวาสน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:56:54Z
dc.date.available2023-09-18T07:56:54Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10232
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาโปรแกรมการกระตุ้นประสานสัมพันธ์ตาและมือ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการใช้โปรแกรมการกระตุ้นประสานสัมพันธ์ตาและมือ จากกิจกรรมทดสอบความจำขณะคิดด้านภาพและมิติสัมพันธ์รวมทั้งศึกษาคลื่นไฟฟ้าสมอง (คลื่นอัลฟ่า คลื่นเบต้า) ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม คัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมวิจัยจากชมรมผู้สูงอายุและคลินิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลท่าเรือ อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 60 คน อายุระหว่าง 60-75 ปีแบ่งออกเป็น กลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน โปรแกรมการฝึกมี 3 ช่วง ช่วง ละ 27 นาที จำนวน 14 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบทดสอบ Psychology Experiment Building Language (PEBL) ด้วย Corsi Block-Tapping Task, Emotiv EPOC EEG Headset, MMSE, PHQ-9, WHOQOL และ ST-5 การวิเคราะห์ทางสถิติใช้การทดสอบทีแบบอิสระและไม่ อิสระ ผลการศึกษาพบว่า 1) โปรแกรมการกระตุ้นประสานสัมพันธ์ตาและมือมีการพัฒนา อย่างมีประสิทธิภาพ 2) กลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึกโปรแกรมอย่างเป็นประจำ พบว่า มีคุณภาพชีวิต เพิ่มขึ้น ผลการทดสอบสภาพสมองเสื่อมเบื้องต้น (MMSE) ลดลง ระดับความเครียดและภาวะ ซึมเศร้าลดลง และ มีความจำขณะคิดด้านภาพและมิติสัมพันธ์โดยมีช่วงของความจำ (Memory span) เพิ่มขึ้น นอกจากนี้กลุ่มทดลองมีคลื่นอัลฟ่าและคลื่นเบต้าที่สมองบริเวณส่วนหน้า ส่วนพา ไรทัล และส่วนท้าย สูงกว่ากลุ่มควบคุมหลังได้รับการฝึกโปรแกรมการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ดังนั้นสรุปได้ว่า โปรแกรมการกระตุ้นประสานสัมพันธ์ตาและมือ สามารถเพิ่มความจำขณะคิดด้านภาพและมิติสัมพันธ์ของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subjectอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subjectอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง -- การลงทุน
dc.titleบริบทของการลงทุนเพื่อส่งเสริมนโยบายการลงทุนในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของประเทศไทยในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern economic corridor : EEC)
dc.title.alternativeInvestment context to promote investment policy of thilnd's biofuel nd biochemicl industries in the estern economic corridor
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the context of Thailand's biofuels and biochemical investment of each process in the upstream, midstream, downstream supply chain and to analyze investment promotion in the biofuels and biochemical industries in the Eastern Economic Corridor. For qualitative research, it consisted of 2 in-depth interviews. For the the 1st round of interviews, there were14 people consisting of farmer representatives, government representatives, private executives and academic representative. For the second round, the interviewees were government representatives, private executives and academic representative and they were selected with a purposive sampling. The data were then summarized and then were used in a focus group discussion with 8 experts to verify the findings. The research results revealed that the context of Thai biofuels and biochemical investment in the Eastern Economic Corridor including the current value chain could be divided into five areas: 1) current government support, 2) need for government support, 3) barriers, 4) factors affecting investment decisions in the biofuels and biochemical industries and 5) driving the biofuels and biochemical industries. It was found that the investment policy of the biofuel and biochemical industry in the Eastern Economic Corridor was divided into upstream, midstream and downstream processes. The upstream process consisted of 1) product value enhancement, 2) promotion of crop rotation cultivation, 3) promotion of process development, 4) promotion of quality and weather-resistant plant selection, 5) promotion of cost reduction, 6) promotion of the use of local inputs, 7) promotion of local production access to funding sources, 8) promotion of agricultural product price assurance, 9) promotion of inputs and 10) promotion of farmer groups. Secondly, the midstream process consisted of 1) promotion of production process efficiency, 2) promotion of competitiveness enhancement, 3) promotion of product quality and standard enhancement, 4) value creation for customers, 5) focus on the environment, 6) promoting value creation and brand loyalty and 7) promoting logistics. Finally, the downstream process consisted of 1) promotion of public relations, 2) proactive marketing promotion, 3) digital marketing promotion, 4) market price control promotion, 5) building corporate social responsibility, 6) promotion of education and understanding with consumers, and 7) promotion of research and development.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการจัดการสาธารณะ
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
57870032.pdf6.2 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น