กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10224
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวิชัย โกศัยยะวัฒน์ | |
dc.contributor.advisor | วรวุฒิ เพ็งพันธ์ | |
dc.contributor.author | อารยา คณารักษ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:56:52Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:56:52Z | |
dc.date.issued | 2565 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10224 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2565 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของครูในการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดระยองและ 2) เพื่อเสนอแนวทางการจัดการศึกษาของครูในการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดระยอง เป็นงานวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method) เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดระยอง จำนวน 320 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นอย่างไม่เป็นสัดส่วน และทำการสัมภาษณ์เชิงลึกกับครูผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 8 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (Independent t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการจัดการศึกษาของครูในการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดระยอง โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่ครูมีการจัดการศึกษามากเป็นลำดับแรก คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงรองลงมา คือ ด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และด้านการจัดการเรียนรู้ เรื่องสิ่งแวดล้อมศึกษา ตามลำดับ เมื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของครูพบว่าอายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์สอน และกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอนส่งผลต่อการจัดการศึกษาที่แตกต่างกัน ขณะที่เพศ ส่งผลต่อการจัดการศึกษาไม่แตกต่างกัน และ 2) แนวทางในการจัดการศึกษาของครูเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดระยอง ได้แก่ การจัดการศึกษา โดยใช้แหล่งเรียนรู้การจัดการศึกษาแบบกิจกรรมเป็นฐาน การจัดการศึกษาแบบปัญหาเป็นฐาน และการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | สิ่งแวดล้อม | |
dc.subject | เด็กกับสิ่งแวดล้อม | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม | |
dc.title | แนวทางการจัดการศึกษาของครูเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดระยอง | |
dc.title.alternative | Guidelines in eductionl mngement of techers to promote qulity of n eco-friendly growth life for secondry students in ryong province | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to 1) study the state of educational management of teachers to promote quality of an eco-friendly growth life for secondary students in Rayong Province. 2) propose guidelines in educational management of teachers to promote quality of an eco-friendly growth life for secondary students in Rayong Province. The research was a mixed method. 320 secondary school teachers in Rayong Province as a sample size was selected by using non proportional stratified random sampling and 8 key informant teachers were interviewees by in-depth interview. Questionnaire and structural interview form were the research instrument. The statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, independent t-test, one-way ANOVA and triangulation. The results of the research showed that 1) the state of educational management of teachers to promote quality of an eco-friendly growth life for secondary students in Rayong Province overall and each aspect were at a high level. Learning management to the Sufficiency Economy Philosophy was the most ranking; learning management on environmental education was the lowest ranking. When studying personal factors of teachers; it was found that age, education level, teaching experience and subject groups affected different educational management of teachers while gender affected educational management no different. 2) the guidelines in educational management of teachers to promote quality of an eco-friendly growth life for secondary students in Rayong Province that teachers can apply to teach were using learning resources, activity-based learning, problem-based learning and integrated learning. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การศึกษาและการพัฒนาสังคม | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
62920077.pdf | 9.81 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น