กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10173
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.authorเบญจวรรณ คชเสนี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:54:09Z
dc.date.available2023-09-18T07:54:09Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10173
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฟลักซ์ของสารอาหารอนินทรีย์ละลายน้ำและของแข็งแขวนลอย รวมถึงศึกษาคุณภาพน้ำที่บริเวณแม่น้ำปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 เดือนมีนาคม เดือนมิถุนายน และเดือนกันยายน พ.ศ. 2562 ผลการศึกษาพบว่า ฟลักซ์สุทธิของน้ำและสารอาหารอนินทรีย์ละลายน้ำทุกชนิดถูกควบคุมด้วยปริมาณน้ำท่าที่ถูกปล่อยมาจากเขื่อนปราณบุรีเป็นหลัก โดยฟลักซ์ของน้ำส่วนใหญ่มีทิศทางไหลออกสู่ทะเล ยกเว้นเดือนธันวาคมที่ฟลักซ์สุทธิของน้ำและของแข็งแขวนลอยมีทิศทางไหลจากทะเล เข้าสู่แม่น้ำในปริมาณ 0.01 x 106 m 3 /day และ 62.59 ton/day ตามลำดับ เดือนที่มีปริมาณฟลักซ์สุทธิของน้ำซิลิเกต และฟอสเฟตไหลออกสู่ทะเลมากที่สุด คือ เดือนกันยายนซึ่งตรงกับช่วงฤดูน้ำมาก (2.01 x 106 m 3 /day 4,658.25 kg Si/day และ 72.04 kg P/day ตามลำดับ) ในส่วนเดือนมีนาคม และมิถุนายน พบว่าฟลักซ์สุทธิของน้ำมีค่าใกล้เคียงกัน (0.76 x 106 m 3 /day และ 0.85 x 106 m 3 /day ตามลำดับ) และพบว่าฟลักซ์สุทธิของแอมโมเนีย และไนเตรท มีค่าสูงที่สุดในเดือนมีนาคมซึ่งตรงกับฤดูแล้ง (276.60 และ 220.70 kg N/day ตามลำดับ) โดยสารอาหารมีที่มาจาก แหล่งชุมชนเป็นหลัก คุณภาพน้ำภายในแม่น้ำปราณบุรีจัดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำแหล่ง น้ำผิวดินประเภทที่ 3 (สามารถใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรกรรม) ยกเว้นค่าออกซิเจนละลายน้ำที่มีค่าต่ำกว่า4 mg/l และค่าบีโอดีที่สูงกว่า 2 mg/l ในเขตพื้นที่ชุมชนในเดือนธันวาคม (ในช่วงเปลี่ยนจากฤดูน้ำมากเป็นฤดูแล้ง) และมีนาคม (ฤดูแล้ง)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectสารแขวนลอย
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวาริชศาสตร์
dc.subjectคุณภาพน้ำ
dc.titleฟลักซ์ของสารอาหารอนินทรีย์ละลายน้ำ และของแข็งแขวนลอยบริเวณปากแม่น้ำปราณบุรีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
dc.title.alternativeFluxes of dissolved inorgnic nutrients nd totl suspended solid t the prnburi river mouth, prchup khiri khn province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe aims of this research are to study fluxes of dissolved inorganic nutrients, total suspended solid (TSS) and water qualities at the Pranburi River, Prachuap Khiri Khan Province in December 2018, March, June and September 2019. The results showed that net water flux and net dissolved inorganic nutrient fluxes were controlled by discharge from the Pranburi Dam. The net water fluxes mostly flowed seaward except in December when the net water flux and the net TSS flux flowed riverward for 0.01 x 106 m 3 /day and 62.59 ton/day, respectively. The largest net fluxes of water, silicate and phosphate occurred in September for 2.01 x 106 m 3 /day, 4,658.25 kg Si/day and 72.04 kg P/day, respectively, which is the peak of wet season. The net water flux in March was almost similar to that in June by 0.76 x 106 m 3 /day and 0.85 x 106 m 3 /day, respectively. Meanwhile, the net fluxes of ammonia and nitrate were largest in March (Dry season) by 276.60 and 220.70 kg N/day, respectively. The main sources of nutrients from the urban area. Most water quality parameters in the Pranburi River met water quality standard in category 3 (suitable for agriculture activities) except for dissolved oxygen (less than 4 mg/l) and BOD (higher than 2 mg/l). BOD and phosphate increased when river water flowing through the urban area in December (the transition period from wet to dry season) and March (the dry season).
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวาริชศาสตร์
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59910290.pdf6.7 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น