กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10171
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorฉัตรกมล สิงห์น้อย
dc.contributor.advisorรังสฤษฏ์ จำเริญ
dc.contributor.advisorปริญญา เรืองทิพย์
dc.contributor.authorกัญญาเพชร พันดานุวงศ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2023-09-18T07:54:09Z
dc.date.available2023-09-18T07:54:09Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10171
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการฝึกยูโดร่วมกับการฝึกซ้อมในใจที่มีต่อทักษะการทุ่มของนักกีฬาเยาวชน และเปรียบเทียบประสิทธิภาพ E1/E2 ของโปรแกรมการฝึกยูโดร่วมกับการฝึกซ้อมในใจที่มีต่อทักษะการทุ่มของนักกีฬาเยาวชนก่อน และหลังการฝึก กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬายูโดระดับเยาวชนของ สปป. ลาว ชาย และหญิงที่มีอายุเฉลี่ยระหว่าง 14 ถึง 18 ปี จำนวน 20 คน ซึ่งประสบการณ์การฝึกขั้นพื้นฐานมาแล้วไม่ต่ำน้อย 6 เดือน ได้มาด้วยวิธีอาสาสมัคร (Volunteer Sampling) โดยเป็นกลุ่มที่มีวิธีการเรียนการสอนทักษะการทุ่มของกีฬายูโดด้วยโปรแกรมการฝึกยูโดร่วมกับการฝึกซ้อมในใจระยะเวลาที่ใช้ในการฝึก 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 วัน วันละ 1 ชั่วโมง 30 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการฝึกซ้อมในใจ และใช้เกณฑ์ การประเมินทักษะการทุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดวัดซ้ำ โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. โปรแกรมการฝึกยูโดร่วมกับการฝึกซ้อมในใจที่มีต่อทักษะการทุ่มของนักกีฬาเยาวชนโดย มีค่า IOC อยู่ในเกณฑ์ดี 2. การวิเคราะห์คะแนนของทักษะการทุ่มทั้งสองท่าที่ได้จากการทดสอบระหว่างการทดลอง และหลังการทดลองมีประสิทธิภาพ E1/E2 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80/80 และผลการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย โดยใช้การทดสอบค่าที (t - test) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบก่อนการทดลองและหลังการทดลองด้วยทักษะการทุ่มทั้งสองท่าพบว่ามีค่าคะแนน 81/87 และ 83/91 แสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง โดยทักษะการทุ่มทั้งสองท่ามีภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงจากสัปดาห์ที่ 1 ถึงสัปดาห์ที่ 4 จากสัปดาห์ที่ 4 ถึงสัปดาห์ที่ 8 และสัปดาห์ที่ 1 ถึงสัปดาห์ที่ 8 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectยูโด -- การฝึก
dc.subjectยูโด
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.titleโปรแกรมการฝึกยูโดร่วมกับการฝึกซ้อมในใจที่มีต่อทักษะการทุ่มของนักกีฬาเยาวชน
dc.title.alternativeJudo trining progrm in coopertion with mentl rehersl on throwing skills of young thletes
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research is to develop Judo training program by combining with mental rehearsal on throwing skills of youth Judo athlete and efficiency comparison E1-E2 of Judo training program by combining with mental rehearsal on throwing skills of youth Judo athlete pre and pos-training. 20 Lao youth Judoka who are between 14 to 18 years old including male and female have been selected as a sample group. These Judoka have experienced in basic training for at least 6 months and this study uses volunteer sampling method. This group Judoka have participated in the class of throwing skill by using throwing skill in combination with mental rehearsal and training time is 8 weeks, two day per week and one and a half hour per day. Research tools using for analyzing data were mental rehearsal program and evaluation criteria of throwing skill. Statistics used in analyzing data is mean, standard deviation, testing that analyzed the variance by specifying statistical significance at level .05. The results show that 1. Judo training program in combination with mental rehearsal on throwing skill of youth Judoka demonstrated IOC in a good level. 2. The result of score analysis of two throwing styles derived from the test during an experiment and post-experiment shows effectiveness E1/E2 which is higher than determined criteria 80/80 and the results of testing differences between mean by using T-test to examine the successful test for both pre and post-experiment by two throwing styles found that scores 81/87 and 83/91 and this result indicated that successful test after experimenting is higher pre-experiment and statistical significance is at level .05. 3. The results of data analysis of sampling group by two throwing styles shows the overall change from week 1 to week 4, from week 4 to week 8 and week 1 to week 8 with an increasing statistical significance at level.05
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
60910081.pdf6.84 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น