กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10166
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorจุฑาทิพย์ สุรารักษ์
dc.contributor.authorสกุลยา พันหล้า
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะโลจิสติกส์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:54:08Z
dc.date.available2023-09-18T07:54:08Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10166
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเงื่อนไขสิทธิประโยชน์ของข้อตกลงเขตการค้าเสรี และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยการลดต้นทุนภาษีนำเข้า ซึ่งบริษัท กรณีศึกษาเป็นบริษัทผู้ผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์โดยมีสินค้าส่งออกที่สำคัญที่สุด คือ เครื่องชงกาแฟไปยังตลาดในต่างประเทศ ซึ่งวัตถุดิบหลักต้องนำเข้าจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ส่งผลให้มีภาษีนำเข้ามีต้นทุนสูง งานวิจัยนี้รวบรวมข้อมูลวัตถุดิบที่นำเข้าระหว่าง 1 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 และใช้เทคนิค ABC Analysis ในการจัดลำดับความสำคัญวัตถุดิบที่นำเข้าจากต่างประเทศทั้งหมด จำนวน 95 รายการจากนั้นวิเคราะห์ต้นทุนภาษีนำเข้า 3 กรณี ได้แก่ 1) การนำเข้าในอัตราอากรปกติ 2) การนำเข้าโดยใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ WTO และ 3) การนำเข้าโดยใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ FTA (Free Trade Agreements) ผลการวิจัย พบว่า วัตถุดิบนำเข้าในกลุ่ม A มีจำนวน 10 รายการ ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักใน การผลิตเครื่องชงกาแฟ โดยคิดเป็นร้อยละ 80 ของมลูค่าการนำเข้าทั้งหมด ซึ่งมีต้นทุนภาษีนำเข้า 471,006,827.49 บาท ถ้าบริษัทกรณีศึกษาใช้สิทธิประโยชน์ WTO ในช่วงเวลาดังกล่าวจะสามารถลด ต้นทุนภาษีนำเข้าวัตถุดิบได้ 259,992,288.61 บาท หรือร้อยละ 45 และถ้าบริษัทกรณีศึกษาเลือกข้อตกลงเขตการค้าเสรีในการนำเข้าวัตถุดิบในกลุ่ม A ต้องมีคุณสมบัติตามกฎแหล่งกำเนิดสินค้า (ROO) และขอใบรับรอง FTA จากผู้ส่งออกบริษัทจะสามารถได้รับการยกเว้นภาษีขาเข้าทั้งหมด หรือลดลงร้อยละ 100 ดังนั้น การนำเข้าวัตถุดิบด้วยการใช้สิทธิประโยชน์ข้อตกลงเขตการค้าเสรีสามารถเพิ่มขีดการแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศให้กับบริษัทกรณีศึกษาได้
dc.language.isoth
dc.publisherคณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการค้าเสรี
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
dc.titleการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยการใช้ข้อตกลงเขตการค้าเสรี : กรณีศึกษา บริษัทผู้ผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์
dc.title.alternativeIncresing competitiveness through free trde greements: cse study of the electronics mnufcturing compny
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of research aim to; 1) study the preference of the Free Trade Agreements (FTA), and 2) study of the guidelines for increasing competitiveness by reducing import duty. The case studied company was an electronic product manufacturer, which was the most important export product is coffee machines to the world market. And the main raw materials must be largely imported from overseas, which was a high cost of import duty. The research was collected imported raw material data from December 1, 2020, to February 28, 2021. The ABC Analysis technique was conducted to prioritize a total of 95 imported raw materials. Then the cost of import duty was analyzed in 3 cases: 1) standard tariff rate 2) WTO tariff preferences and 3) FTA tariff preferences. The results revealed that the imported raw material in Group A has consisted of 10 items which are the main parts in the manufacturing of coffee machines. The raw materials in group A accounted for 80% of the total import value, which is an import tax of 471,006,827.49 baht. During the data collection period, the company will be able to reduce the import tax of raw materials at 259,992,288.61 baht or 45% under the WTO preference. In addition, raw material in Group A must qualify under the rules of origin (ROO) and ask for an FTA certificate from the exporter. The company will be able to exempt from the import duties of raw materials or 100% reduction under the FTA. It was recommended that the import of raw materials by claiming the FTA preferences can increase the international trade competitiveness of the case studied company.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
62920138.pdf5.77 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น