กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10133
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพชรรัตน์ วิริยะสืบพงศ์ | |
dc.contributor.author | ปภาวรินท์ เมืองจันทึก | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:53:58Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:53:58Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10133 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์โมเดลธุรกิจขนส่งโลจิสติกส์ขนาดใหญ่จากบริษัทต้นแบบ กรณีศึกษาบริษัท S ดำเนินการวิจัยโดยศึกษาข้อมูลจากแหล่งข้อมูล 2 ส่วน ประกอบด้วย การศึกษาแบบ กรณีศึกษา จากแนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริบทของงานวิจัย โดยศึกษาผ่านแนวคิดและทฤษฎี แผนผังโมเดลธุรกิจ Business model canvas การศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับบุคลากรในองค์กรโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กำหนดขอบเขตประชากรและกลุ่มตัวอย่างจากบุคลากรในองค์กรที่มีประสบการณ์การการทำงาน 10 ปีขึ้นไป และเป็นระดับตำแหน่งมืออาชีพ รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 6 ท่าน และความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการดำเนินธุรกิจขนส่งโลจิสติกส์ขนาดใหญ่ เพื่อเป็นการบูรณาการความรู้ในส่วนต่าง ๆ ที่ได้จากการศึกษาโมเดลของธุรกิจที่เป็นต้นแบบด้านขนส่งโลจิสติกส์ขนาดใหญ่และสามารถใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการพัฒนาธุรกิจด้านขนส่งโลจิสติกส์ จากการวิเคราะห์พบว่าบริษัท S มีลูกค้าเพียงรายเดียว เนื่องจากถูกก่อตั้งมาเพื่อขับเคลื่อนห่วงโซ่อุปทานของลูกค้าให้ดำเนินได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยบริการด้านการขนส่งโลจิสติกส์มีการจัดการกระบวนการต่าง ๆ เกี่ยวกับการขนส่งโลจิสติกส์อย่างครบวงจรและโดยใช้ระบบไอทีมาบริหารเพื่อจัดการด้านการติดต่อสื่อสารที่สามารถติดต่อสื่อสารกับลูกค้าและกลุ่มบริษัทในเครือทั่วโลกได้อย่างรวดเร็วและต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอต่อความต้องการเพื่อให้เกิดสภาพคล่องในองค์กรรวมถึงระบบปฏิบัติการของบริษัท ซึ่งหลังจากนี้จะใช่ค่าว่าระบบปฏิบัติการ B ที่เป็นทรัพยากรหนึ่งขององค์กรและจัดเป็นทรัพย์สินทางปัญญาเฉพาะของบริษัทที่เป็นตัวแปรในการขับเคลื่อนห่วงโซ่อุปทานให้แก่ลูกค้า ซึ่งเป็นหนึ่งในสิ่งที่สำคัญที่ทำให้บริษัท S เหนือกว่าบริษัทขนส่งโลจิสติกส์อื่น ๆ เนื่องจากสามารถตอบสนองกิจกรรมหลัก คือ การนำเข้า ส่งออก ติดตามและเรียกเก็บเงินให้บรรลุวัตถุประสงค์ของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยการบริการที่มีความโปร่งใสและตรงไปตรงมา หุ้นส่วนสำคัญของบริษัทแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย 1. ลูกค้าที่สร้างแรงผลักดันและทำให้บริษัทคงอยู่ 2. คู่ค้าที่ทำให้กระบวนการต่าง ๆ ดำเนินไปได้จากต้นทางไปสู่ปลายทางอย่างสมบูรณ์โดยที่บริษัท S จะเป็นผู้บริหารจัดการโดยรวมทั้งหมดในการดำเนินงานด้านต้นทุนของบริษัท S ได้มีการจัดการต้นทุนในการดำเนินกิจการด้านต้นทุนแปรผัน โดยมีการประมูลราคาสำหรับเลือกคู่ค้าในการดำเนินธุรกิจ เพื่อให้ได้ผลประกอบการที่ดีที่สุด และต้องแน่ใจว่าจะไม่เกิดปัญหาระหว่างการจัดส่ง โดยรายได้ของบริษัทขึ้นกับกำลังการผลิตและผลประกอบการของลูกค้าโดยตรง | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | โลจิสติกส์ | |
dc.subject | การขนส่ง | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.subject | เทคโนโลยีการขนส่ง | |
dc.title | การวิเคราะห์โมเดลธุรกิจขนส่งโลจิสติกส์ขนาดใหญ่จากบริษัทต้นแบบ กรณีศึกษาบริษัท S | |
dc.title.alternative | Anlysis of lrge logistics business model from best prctice compny cse study of s | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This study was conducted with the aim of analyzing a large logistics model from a best practice company in a case study ofScompany. The study was conducted by examining data from a 2-part data source composed of case studies from various lines of thought and theories related to the context of the research and studying lines of thought, the Business Model Canvas theory and qualitative data obtained from in-depth interviews with personnel in the organization. The sample was selected by purposive sampling. The scope of the population and sample were the personnel in the organization with ten years of work experience and up. Furthermore, the participants were at the professional level and totaled six participants altogether. The participants were also directly involved in operating the large logistics business for the purpose of integrating knowledge in various areas obtained from the study of the large logistics business model from a best practice company, which can be used as data and guidelines for business development in logistics. According to the analysis, Company S was found to have only one customer, because it had been established to keep the supply chain moving for the customer to operate efficiently. The logistics/transport business was managed with various processes involving one-stop transport/logistics by using an IT system to administrate in order to manage communications. That is capable of communicating with customers and groups of companies in the network all over the world rapidly. The system also requires sufficient resources to meet its needs for the purpose of liquidity in the organization. Moreover, the company’s operating system called “B”, one of the organization’s resources and categorized as intellectual property belonging solely to the company, is a variable in the movement of the supply chain for the customer. Consequently, this is one of the important things placing Company S above other transport/logistics companies, because it is able to handle is main activities, exports, monitoring and billing, to achieve the customer’s objectives efficiently with transparent, straightforward services. The company’s main shareholders are divided into the following two groups: 1. customers that create a driving force and give the company staying power and 2. trading partners that keep various processes going full scale from start to finish. Company S is the managing executive over everything. Company S practices cost management in operating its business in terms of variable costs. Price biddings are held for the selection of trading partners in business operations for the purpose of best performance and there must be certainty that there will be no problems during transport. The company’s income relies directly on production capacity and the performance of its customer. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
58920091.pdf | 3.39 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น