กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10120
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิราภา พึ่งบางกรวย | |
dc.contributor.author | ชุติมา กาญจนาภา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:53:52Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:53:52Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10120 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กจ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการซื้ออาหารคลีน 2. เพื่อศึกษาระดับความสําคัญของประสบการณ์ในอดีต ความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรม ทัศนคติและความ ตั้งใจซื้ออาหารคลีน 3. เพื่อศึกษาอิทธิพลของประสบการณ์ในอดีต และความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรมที่มีผลต่อทัศนคติด้านความเข้าใจด้านความรู้สึกและด้านพฤติกรรมในการซื้ออาหารคลีน รวมถึง 4. เพื่อศึกษาอิทธิพลของทัศนคติที่มีผลต่อความตั้งใจซื้ออาหารคลีนของเจเนอร์เรชันวาย ในเขตกรุงเทพมหานคร งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณจากคนที่สนใจที่จะซื้อหรือรู้จักผลิตภัณฑ์อาหารคลีน ในเขตกรุงเทพมหานคร กำหนดความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 แต่เนื่องจากไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน คณะผู้วิจัยใช้การคำนวณหาขนาดตัวอย่างที่ต้องการแบบไม่ทราบ จํานวน เก็บรวบรวมจากกลุ่มตัวอย่าง 400 ชุด โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม การวิเคราะห์ใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทําการทดสอบสมมติฐานของการวิจัยด้วยสมการการถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง มีอายุ 21 ปี - 30 ปี มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีและเป็นนักเรียน – นักศึกษา มีรายได้ 10, 000 บาท – 20, 000 บาท โดยระดับการรับรู้ในประสบการณ์ในอดีต ความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรม ทัศนคติด้านความเข้าใจ ทัศนคติด้านความรู้สึก ทัศนคติด้านพฤติกรรม และความตั้งใจซื้อทุกปัจจัยมีความสําคัญใน ระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าประสบการณ์ในอดีต ความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรม มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติทั้ง 3 ด้าน และทัศนคติทั้ง 3 ด้าน มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารคลีนโดยมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | โภชนาการ | |
dc.subject | การกำหนดอาหาร -- สุขภาพและอนามัย | |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้ออาหารคลีนของเจนเนอเรชันวายในเขตกรุงเทพมหานคร | |
dc.title.alternative | The fctors influencing clen food purchse intentions of genertion y in bngkok | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to: 1. study behaviors of clean food purchase; 2. study important level of previous experiences, behavioral beliefs, attitudes and intentions of clean food purchase; 3. study the influence of previous experiences and behavioral beliefs influencing toward cognitive, affective, and behavioral attitude of clean food purchase; and 4. study the influence of attitudes towards clean food purchase intentions of Generation Y in Bangkok. This quantitative research conducted survey on persons who intended to or acknowledge clean food products in Bangkok. The confidential level was set at 95 percent. Since the exact number of populations was unknown, the data was compiled from 400 cases of sample group. The questionnaire was used as tool for gathering data. The descriptive statistics, including percentage, mean, standard deviation, were employed for data analysis. And multiple regression analysis was applied for hypothesis test. The results found that the majority of respondents were female; aged between 21 and 30 years; education level was Bachelor’s degree and undergraduate students; and income between 10,000 and 20,000 Baht. The perception level of previous experiences, behavioral beliefs, cognitive attitudes, affective attitudes, behavioral attitudes and purchasing intention were all important at high level. The hypothesis test results showed that previous experiences and behavioral beliefs had positive relationship with three aspects of attitudes. In addition, three aspects of attitudes influenced purchasing intention of clean food with statistical significance at level of 0.05. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.degree.name | การจัดการมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59920329.pdf | 3.84 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น