กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10112
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนภณ นิธิเชาวกุล | |
dc.contributor.advisor | กัญจนวลัย นนทแก้ว แฟร์รี่ | |
dc.contributor.author | จารีภรณ์ กิตติเมธีวัฒน์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:51:23Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:51:23Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10112 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน เพื่อยืนยันองค์ประกอบของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและความคิดสร้างสรรค์เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน และเพื่อนำเสนอโมเดลเชิงสาเหตุความสัมพันธ์ของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัย พบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ การระบุและแสดงวิสัยทัศน์การเป็นตัวแบบที่เหมาะสม การสนับสนุนให้ยอมรับเป้าหมายของส่วนรวม การคาดหวังในผลงานที่ดีเยี่ยม การให้การสนับสนุนแต่ละบุคคลและการกระตุ้นการใช้ปัญญาความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน ประกอบด้วย 13 องค์ประกอบ คือ เสนอแนะวิธีการใหม่เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ แนะนำแนวคิด และลงมือปฏิบัติเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน เมื่อเห็นโอกาสจะคิดหาวิธีหรือกระบวนการ ใหม่ในการทำงาน แนะนำวิธีการใหม่ให้เพื่อนร่วมงานได้คิดค้นพัฒนาเพิ่มคุณภาพงานเป็นแหล่งความคิดสร้างสรรค์ที่ดี พิจารณาความเสี่ยงและนำไปประยุกต์ใช้อย่างรอบคอบ สนับสนุนและส่งเสริมข้อมูลทรัพยากรให้เพื่อนร่วมงาน แสดงออกด้านความคิดสร้างสรรค์เมื่อได้รับโอกาส มีการวางแผนงานและดำเนินการให้สำเร็จด้วยความคิดใหม่ มีแนวคิดใหม่และใช้นวัตกรรมจัดการกับงาน จัดการปัญหาจากงานด้วยความสร้างสรรค์เมื่อพบปัญหาในการทำงานจะคิดหาวิธีการใหม่ และแนะนำวิธีการใหม่ให้กับส่วนกลางได้รับรู้และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ | |
dc.subject | ภาวะผู้นำ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.subject | ผู้นำการเปลี่ยนแปลง | |
dc.title | อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ | |
dc.title.alternative | Influences of trnsformtionl ledership on employee cretivity in utomotive prts industry | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This quantitative research aims to survey transformational leadership and employee creativity, to confirm the factors of the transformational leadership and employee creativity, to analyze influences of transformational leadership on employee creativity and to offer a causal model of the relationship between transformational leadership on employee creativity in automotive parts industry. The sample groups were 400 employees in operational level in automotive parts industry. Questionnaire was used to collect data. Frequency distribution, percentage, average, standard deviation, confirmation factor analysis and structural equation model were used to analyze data. The result found that transformational leadership in automotive parts industry consists of 6 factors: specifying and presenting vision, being an appropriate model, encouraging the acceptance of public goals, expecting excellent performance, supporting individual, and motivating intellectual usage. Employee creativity consists of 13 factors: introducing new approach for target accomplishment, suggesting idea and taking action for productivity improvement, finding the way or new process of work whenever seeing an opportunity, suggesting new approach to colleagues and develop to increase work quality, being a good source of creativity, determining risks and cautiously applying them, supporting and encouraging data and resource to colleagues, expressing creative idea whenever receiving a chance, planning and implementing for success with new idea, having new idea and using innovation to manage work, managing problems from work with creativity, employee will find new way when having problem from work, and recommending the new way to the center for acknowledgment. In conclusion, transformational leadership positively influences on employee creativity in automotive parts industry. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | คณะการจัดการและการท่องเที่ยว | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
58920079.pdf | 4.83 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น