กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10078
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorปรัชญา แก้วแก่น
dc.contributor.authorธนารีย์ กระจ่างแจ้ง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา
dc.date.accessioned2023-09-18T07:51:14Z
dc.date.available2023-09-18T07:51:14Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10078
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการฝึกบูรณาการควบคุมการเคลื่อนไหว และเปรียบเทียบความสามารถในการทรงตัวและการกลัวล้มระหว่างกลุ่มทดลองที่ใช้โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นกับกลุ่มควบคุมที่ใช้โปรแกรมออกกำลังกายทั่วไป กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุเพศหญิง มีช่วงอายุ 61-83 ปีในเขตอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน ใช้แบบแผนการวิจัยแบบวัดก่อนและหลังการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม วัดความสามารถในการทรงตัวโดยใช้ Time up and go test และประเมินการกลัวล้ม โดยใช้แบบประเมินความกลัวล้ม Fall Efficacy Scale-International (Thai FES-I) วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยวิธีการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test) สำหรับกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองที่ใช้โปรแกรมฝึกบูรณาการควบคุมการเคลื่อนไหว มีความสามารถในการทรงตัวเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อเปรียบเทียบการกลัวล้มในกลุ่มที่ใช้โปรแกรมฝึกบูรณาการควบคุมการเคลื่อนไหวพบว่า มีคะแนนมากกว่ากลุ่มควบคุม
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.subjectการทรงตัว
dc.subjectการเคลื่อนไหว
dc.titleผลของโปรแกรมฝึกบูรณาการควบคุมการเคลื่อนไหวต่อความสามารถในการทรงตัวและการกลัวล้มในผู้สูงอายุ
dc.title.alternativeEffect of integrted motor control trining progrm on blnce bility nd fll efficcy in elderly
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to develop an Integrated Motor Control Training Program (IMCT), and to compare the program’s effectiveness with reference to a control group who received the General Exercise Program. The participants were fifty older woman aged 61-83 years from Mueang Rayong district, Rayong province, who were assigned to the experimental group (n=30) and to the control group (n=30). The research employed an experimental Pretest and Posttest Control Group design. Balance ability was measured by Time Up and Go Test (TUGT) and measuring fear of falling involved the Fall Efficacy Scale-International (Thai-FES-I). Data were analyzed by a paired sample t-test. It was found that the group receiving the Integrated Motor Control Training Program, when compared to the General Exercise Program group, resulted in increased balance ability and decreased fear of falling (p<.05).
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59910296.pdf5.05 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น