กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10069
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิธัญญา วัณโณ | |
dc.contributor.advisor | ธนิดา จุลวนิชย์พงษ์ | |
dc.contributor.advisor | ไพบูลย์ พงษ์แสงพันธ์ | |
dc.contributor.author | กิตติ์ คุณกิตติ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:51:13Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:51:13Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10069 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบมาตรวัดความรอบรู้ทางสุขภาพด้านกิจกรรมทางกายสำหรับวัยรุ่น โดยตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหาเพื่อพิจารณาความสอดคล้องจากผู้เชี่ยวชาญ หาค่าความเชื่อมั่น กับวัยรุ่นที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจริง จำนวน 60 คน และทดสอบความสอดคล้องมาตรวัด ความรอบรู้ทางสุขภาพด้านกิจกรรมทางกายสำหรับวัยรุ่นกับข้อมูลเชิงประจักษ์จากกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่กำ ลังศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศทั้งหมด 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ที่มีอายุระหว่าง 18-22 ปี จำนวน 822 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ความเชื่อมั่น โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคและตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลการพัฒนามาตรวัดความรอบรู้ทางสุขภาพด้านกิจกรรมทางกายสำหรับวัยรุ่นจากการสังเคราะห์องค์ประกอบจากงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความวิชาการได้มาตรวัด จำนวน 9 องค์ประกอบ 96 ข้อคำถาม ประกอบด้วยองค์ประกอบการเข้าถึงข้อมูลด้านกิจกรรมทางกายองค์ประกอบความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมทางกายองค์ประกอบการรับรู้ถึงประโยชน์ของกิจกรรมทางกายองค์ประกอบการรับรู้ถึงอุปสรรคของกิจกรรมทางกายองค์ประกอบการรับรู้ถึงสมรรถนะของตนเองด้านกิจกรรมทางกายองค์ประกอบความรู้สึกที่มีต่อกิจกรรมทางกายองค์ประกอบอิทธิพลระหว่างบุคคลด้านกิจกรรมทางกาย องค์ประกอบอิทธิพลจากสถานการณ์สิ่งแวดล้อมด้านกิจกรรมทางกายและองค์ประกอบพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกายผลการพิจารณาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา พบว่า ข้อคำถามมีค่าความเที่ยงตรงตามเนื้อหาเป็นไปตามเกณฑ์มากกว่าหรือเท่ากับ 0.5 ขึ้นไป เท่ากับ 89 ข้อคำถาม และผลการหาค่าอำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่น พบว่า ข้อคำถามที่ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 79 ข้อคำถาม โดยมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .21 ถึง .80และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .91 2. ผลค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง พบว่า โมเดลมาตรวัดความรอบรู้ทางสุขภาพด้านกิจกรรมทางกายของวัยรุ่นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (ค่าไคสแควร์= 4.77; p= 0.688; df= 7; GFI= .999; AGFI= .992; RMR = 0.009; RMSEA = .000) ดังนั้น มาตรวัดความรอบรู้ทางสุขภาพด้านกิจกรรมทางกายของวัยรุ่นสามารถจำแนกความรอบรู้ทางสุขภาพด้านกิจกรรมทางกายของวัยรุ่น และเป็นแนวทางการเสนอแนะการปรับปรุง พัฒนารูปแบบกิจกรรมทางกายของวัยรุ่น | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ความรอบรู้ทางสุขภาพ | |
dc.subject | สุขภาพ | |
dc.subject | สมรรถภาพทางกาย | |
dc.subject | วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา | |
dc.title | การพัฒนามาตรวัดความรอบรู้ทางสุขภาพด้านกิจกรรมทางกายสำหรับวัยรุ่น | |
dc.title.alternative | Development of physicl ctivity helth litercy scle for dolescents | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to develop and test the scales to assess physical activity health literacy for adolescents by checking the accuracy of the content to consider the consistency from experts, finding out the confidence values with 60 non-sample adolescents and testing the consistency of physical activity knowledge gauges for adolescents with empirical data. The samples were 822 undergraduate students studying at Rajabhat Universities from four regions nationwide, consisting of northern, central, northeastern and southern regions. They are between 18-22 years old. The samples were drawn by multi-stage sampling. Cronbach’s Coefficient Alpha was employed to assess the reliability, whereas the construct validity was assessed through the confirmatory factor analysis. The results of the research were as follows. 1. The developed scales were devised based on synthesized literature including research studies, dissertations and academic articles. The scales were comprised of 9 key dimensions with a total of 96 items. The key dimensions include accessing to data about physical activity, understanding of physical activity, perceiving physical activity benefits, perceiving barrier to physical activity, perceiving physical activity competence, attitude toward physical activity, interpersonal influence on physical activity, environmental/situational influences on physical activity, and physical activity behavior. Based on the content validity, 89 items showed high validity with the value of 0.5 or above, whereas 79 items were found to be acceptable with the discrimination indexes ranging from .21-.80 and the overall reliability value was .91. 2. The construct validity showed that the devised scales were congruent with the empirical evidence (chi-square = 4.77; p = 0.688; df = 7; GFI = .992; RMR = 0.009; RMSEA = .000). The scales, thus, showed capacity to discriminate physical activity health literacy for adolescents and to be a guideline in improving and developing physical activity programs for adolescents. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59810071.pdf | 3.6 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น