กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10065
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเสกสรรค์ ทองคำบรรจง
dc.contributor.advisorนภพร ทัศนัยนา
dc.contributor.advisorสุกัญญา เจริญวัฒนะ
dc.contributor.authorพลากร มะโนรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2023-09-18T07:51:11Z
dc.date.available2023-09-18T07:51:11Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10065
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกลยุทธ์การจัดการด้านการออกกำลังกายและกีฬาตามแนวคิดเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการส่งเสริมสุขภาพสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ และประเมินความเป็นไปได้ในการนำไปใช้วิธีการวิจัยประกอบด้วยการศึกษาสภาพแวดล้อมเกี่ยวกับการออกกำลังกายและกีฬาในบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏ และศึกษาการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพตามแนวคิดเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการส่งเสริมสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างแบบประเมินความต้องการจำเป็น (PNIModified ) นำข้อมูลมาสังเคราะห์สร้างกลยุทธ์การจัดการด้านการออกกำลังกายและกีฬาตามแนวคิดเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการส่งเสริมสุขภาพสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ทำการตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมโดยผู้เชี่ยวชาญ และประเมินความเป็นไปได้ในการนำกลยุทธ์ไปใช้ได้จริง โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การจัดการด้านการออกกำลังกายและกีฬาตามแนวคิดเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการส่งเสริมสุขภาพสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ประกอบด้วย 1) พัฒนาโครงสร้างการดำเนินงาน 2) สร้างเครือข่ายการจัดการความรู้ 3) เสริมสร้างแรงจูงใจจิตอาสาและการจัดสวัสดิการ 4) สร้างความร่วมมือกับองค์กรภายนอกในการจัดการสถานที่ วัสดุอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 5) จัดระบบการให้บริการ 6) ส่งเสริมการบริการด้านกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬา 7) ส่งเสริมชมรมการออกกำลังกายและการกีฬาร่วมกับชุมชน 8) สร้างเครือข่ายธุรกิจ กีฬาและนันทนาการ 9) พัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองต่อความต้องการท้องถิ่น 10) ส่งเสริมงานวิจัย 11) ส่งเสริมให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพโดยชุมชนเป็นฐานในด้านผลการประเมินความเป็นไปได้ในการนำไปใช้อยู่ในระดับมาก
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.subjectการออกกำลังกาย
dc.titleกลยุทธ์การจัดการด้านการออกกำลังกายและกีฬาตามแนวคิดเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการส่งเสริมสุขภาพสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ
dc.title.alternativeMngement strtegy of exercise nd sport ccording to sin university network-helth promotion for rjbht university
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to develop the management strategy of exercise and sport based on ASEAN University Network-Health Promotion Network (AUN-HPN) at Rajabhat University and to evaluate the feasibility of practical implementation. The methodology involved the study of environments relating to exercise and sport in context of Rajabhat University, and the investigation of procedures and operations of AUN-HPN. Semi-structured questionnaire and Modified Priority Needs Index (PNIModified ) were used as research tools. Data were subsequently synthesized and were used for developing the management strategy of exercise and sport based on ASEAN University Network-Health Promotion Network (AUN-HPN) at Rajabhat University. The management strategy was checked and approved by professionals for the correctness and appropriateness, and was evaluated the feasibility of practical implementation by stakeholders of Rajabhat University. The results revealed that the management strategy of exercise and sport based on AUN-HPN at Rajabhat University consisted of 1) development of operational structure, 2) formation of knowledge management network, 3) creation of motivation, volunteer spirit, and welfare, 4) building of corporation with external organizations for arrangement of location, equipment, and facilities, 5) provision of service system, 6) promotion of exercise and sportrelated services, 7) promoting exercise and sport clubs with the community, 8) establishment of sport and recreation related business network, 9) improvement of programs that meet the local needs, 10) research support, and 11) appreciation of community-based profession internship among students. The evaluation of practical implementation indicated a high level.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
57810088.pdf4.25 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น