กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10056
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศักดินา บุญเปี่ยม | |
dc.contributor.advisor | สุกัญญา บูรณเดชาชัย | |
dc.contributor.author | ณภาเกตุ โรจนสร้างสกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:51:05Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:51:05Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10056 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการเปิดรับข่าวสารผ่านการสื่อสารองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยบูรพา 2) ศึกษาภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพาในมุมมองของบุคลากร 3) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์กับการเปิดรับข่าวสารผ่านการสื่อสารองค์กรของมหาวิทยาลัยบูรพา 4) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์กับภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพาในมุมมองของบุคลากร 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารผ่านการสื่อสารองค์กรของบุคลากรกับภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพาในมุมมองของบุคลากร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ขอบเขตการศึกษา ได้แก่ บุคลากรของมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตบางแสน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified random sampling) กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 361 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติสถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา (ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ทดสอบสมมติฐานสถิติอ้างอิง t-Test วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัม พันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation) ผลการศึกษา พบว่า 1) บุคลากรมีการเปิดรับข่าวสารของฝ่ายสื่อสารองค์กรภาพรวมอยู่ในระดับน้อย (x̅ = 2.08) และประเภทของสื่อที่บุคลากรมหาวิทยาลัยบูรพาส่วนใหญ่เลือกเปิดรับข่าวสารผ่านสื่อสารองค์กรเป็นอันดับหนึ่ง คือ สื่อสังคมออนไลน์มีจำนวน 291 คน คิดเป็นร้อยละ 80.62 2) ภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยบูรพาในมุมมองของบุคลากรอยู่ในระดับดี (x̅ = 3.69) 3) รายได้ อายุ ระดับการศึกษาและประเภทของบุคลากรที่ต่างกัน มีการเปิดรับข่าวสารผ่านการสื่อสารองค์กรแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนเพศที่ต่างกัน มีการเปิดรับข่าวสารผ่านการสื่อสารองค์กรไม่แตกต่างกัน 4) บุคลากรที่มีการเปิดรับสื่อต่างกันมีมุมมองภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยบูรพาในภาพรวมไม่แตกต่างกัน และ 5) การเปิดรับข่าวสารของฝ่ายสื่อสารองค์กรมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพาภาพรวมที่ความสัมพันธ์ในระดับน้อย (r = .280) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสารทางการเมือง | |
dc.subject | การสื่อสารในองค์การ | |
dc.subject | การสื่อสาร | |
dc.title | การเปิดรับข่าวสารผ่านการสื่อสารองค์กรกับภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพาในมุมมองของบุคลากร | |
dc.title.alternative | Medi exposure vi corporte communiction nd burph university imge from the perspective of university officils | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The research aimed to 1) study the media exposure to corporate communication among Burapha University staff; 2) explore the image of Burapha University from the perspective of Burapha University staff; 3) compare the differences between demographic factorsand media exposure to Burapha University corporate communication;4) compare the differences between demographic factors and image of Burapha University from the perspective of University staff; 5) examine the relationship between media exposure to corporate communication and Burapha University image among the staff. This quantitative study was done among 361 Burapha university staff at Bangsan campus using stratified random sampling method.Theclosed-end questionnaires were used to collect the data. The collected data then were analyzed using percentage, mean, S.D., t-Test, One-way ANOVA and Pearson correlation. The results found that 1) the overall exposure to information via corporate communication was at the low level (x̅ = 2.08) and the majority of staff, 219 persons or 80.63%, have exposed to information via social media platforms; 2) the image of Burapha University perceived by the staff was at a good level (x̅ = 3.69); 3) differences of income, age, education level and position contributed to the differences of media exposure to corporate communication at statistical significance level of .01, except the difference of gender; 4) differences in media exposure did not affect the staff attitude toward the overall image of Burapha University; 5) the overall image of the Burapha University was positively correlated with media exposure at the low level (r = .280) at statistical significance level of .01 | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมือง | |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
59920507.pdf | 5.14 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น