กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10051
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์ | |
dc.contributor.advisor | กิตติมา พันธ์พฤกษา | |
dc.contributor.author | ช่อรัก วงศ์สวรรค์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-18T07:51:03Z | |
dc.date.available | 2023-09-18T07:51:03Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10051 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดสร้างสรรค์ระดับบุคคลและระดับกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกงานวิจัยนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน การปฏิบัติการสังเกต และการสะท้อนผลโดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชลกันยานุกูล ปี การศึกษา 2562 จำนวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบวัดการคิดแบบสร้างสรรค์ระดับบุคคลและระดับกลุ่ม แบบวัดกระบวนการคิดสร้างสรรค์ระดับบุคคล และระดับกลุ่ม แบบประเมินความสร้างสรรค์ของผลงานระดับบุคคลและระดับกลุ่ม และแบบประเมินความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละเพื่อตอบคำถามงานวิจัย ซึ่งผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การจัดการเรียนรู้เชิงรุกส่งผลให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ระดับบุคคล เฉลี่ยร้อยละ 73.53 2. การจัดการเรียนรู้เชิงรุกส่งผลให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ระดับกลุ่ม เฉลี่ยร้อยละ 89.96 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ | |
dc.subject | ความคิดสร้างสรรค์ | |
dc.title | ความคิดสร้างสรรค์ระดับบุคคลและระดับกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ | |
dc.title.alternative | Individul nd group cretivity of tenth grde students using ctive lerning on genetics nd dn technology | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research was aimed to study tenth grade students’ individual and group creativity after learning through active learning. The research design was a classroom action research which consisted of 4 steps; Plan, Act, Observe and Reflect. The target group was fortythree tenth grade students of 2019 academic year at Chonkanyanukul school. The research instruments were active learning lesson plans, individual and group creative thinking tests, individual and group creative process tests, individual and group creative product evaluation forms and work creatively with others evaluation forms. The data were analyzed by mean, standard deviation and percentage. The findings were as follows: 1. Students’ individual creativity were 73.53% after using active learning. 2. Students’ group creativity were 89.96% after using active learning. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การสอนวิทยาศาสตร์ | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
61910062.pdf | 4.87 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น