กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10032
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorจันทร์พร พรหมมาศ
dc.contributor.advisorเด่นชัย ปราบจันดี
dc.contributor.authorวรวุฒิ คุณประทุม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:44:00Z
dc.date.available2023-09-18T07:44:00Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10032
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (กศ.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการใช้โปรแกรมพัฒนาวิชาชีพครู ด้านการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารโดยใช้แนวคิดการสร้างชุมชนนักปฏิบัติ ผู้วิจัยได้ดําเนินการวิจัย และศึกษาผลการวิจัยจากกระบวนการพัฒนาวิชาชีพครูตามขั้นตอนที่ได้ทําการสังเคราะห์ จากแนวคิดการสร้างชุมชนนักปฏิบัติ ผู้มีส่วนร่วมในการวิจัยเป็นครูผู้สอนภาษาอังกฤษในระดับชั้นมัธยมศึกษาในอําเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิที่มีความประสงค์และสมัครใจเข้าร่วมใช้โปรแกรมพัฒนาวิชาชีพครูฯ จํานวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมพัฒนาวิชาชีพครูฯ แบบบันทึกผลการสัมภาษณ์กลุ่มและแบบประเมินสมรรถนะด้านการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการคํานวณคะแนนพัฒนาการรายบุคคล ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้มีส่วนร่วมเกิดการเปลี่ยนแปลงความเชื่อที่สอดคล้องกับแนวคิดด้านการสอนภาษา เพื่อการสื่อสารหลังใช้โปรแกรมฯ แต่มี 2 ประเด็นที่ผู้มีส่วนร่วมไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงความเชื่อ เนื่องจากผู้มีส่วนร่วมมีความเชื่อที่ถูกต้องและสอดคล้องกับแนวคิดด้านการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร คือ การสอนภาษาเพื่อการสื่อสารในชั้นเรียนสามารถเป็นพื้นฐานในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตจริง และบทบาทของครูในการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร 2. ผู้มีส่วนร่วมมีค่าระดับการปฏิบัติตามเมินสมรรถนะด้านการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร หลังดําเนินการพัฒนาวิชาชีพครูตามสมรรถนะที่กําหนดในระดับมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 4.70 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.49 และมีผลคะแนนพัฒนาการของการประเมินสมรรถนะด้านการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรมฯ โดยมีค่าคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์เพิ่มขึ้น เฉลี่ยร้อยละ 58.47 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาระดับสูง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectวิชาชีพครู
dc.subjectวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subjectภาษา -- การศึกษาและการสอน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพครูด้านการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารโดยใช้แนวคิดการสร้างชุมชนนักปฏิบัติ
dc.title.alternativeThe development of techer professionl development progrm for communictive lnguge teching using community of prctice pproch
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop, and to study the results of using the developed teacher professional development program for communicative language teaching using a community of practice approach. The research process proceeded with the synthetic of a community of practice approach. The participants were the teachers who had taught English in the secondary school at Bantan district, Chaiyaphum province who, were willing to participate to use the teacher professional development program. The instruments of this research were; the teacher professional development program, the recording of focus group interviews, and the evaluation form of communicative language teaching‘s competency. The qualitative data analysis was analyzed by content analysis and the quantitative data analysis was analyzed by mean, standard, and development score. The results of this research: were as follows; 1. The participants had changes on Communicative Language Teaching Belief after using the program. There were 2 issues that were unchanged, due to the participants had correct belief and conform to communicative language teaching approach which followed the communicative language teaching of the basic for communicating in the real context and the role of the teacher for communicative language teaching. 2. Participants had a good level of communicative language teaching competencies after using the teacher professional development program (X = 4.70, SD = 0.49). The development score of the evaluation of communicative language teaching competencies was higher than before using the program followed by an increase of relative gain score at a high level (58.47).
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอน
dc.degree.nameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
57810125.pdf6.75 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น