กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1001
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorบุญรัตน์ ประทุมชาติth
dc.contributor.authorบัลลังก์ เนื่องแสงth
dc.contributor.authorถนอมศักดิ์ บุญภักดีth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:58Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:58Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1001
dc.description.abstractการศึกษาอิทพลของความเค็มน้ำ 4 ระดับ (0.5, 10, 20 และ 30 ส่วนในพัน) และเสริมเกลือแร่ 0%, 1%, และ 3% ในอาหาร ต่อการเจริญเติบโต ระยะเวลาลอกคราบ การอดตาย และคุณลักษณะของเปลือกกุ้งกุลาดำ (ความแข็งแรง ความขรุขระ สี และความวาว) และการเปลี่ยนแปลงของ ออสโมลาลิตี้ แคลเซียม แมกนีเซียม โซเดียม คลอรีน โปแตสเซียม ฟอสฟอรัส แมงกานีส ทองแดง และกำมะถัน โปรตีนคาร์โบไฮเดรต และไกลโคสอะมิโนไกลแคนในพลาสมาและเปลือกของกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) วัยรุ่นที่เลี้ยงในบ่อซิเมนต์ และทำการเลี้ยงกุ้งด้วยการเสริมและการไม่เสริมเกลือแร่ในอาหารในบ่ดินแบบพัฒนาความเค็มนำต่ำ จากการทดลองพบว่าการเสริมเกลือแร่ในอาหารกุ้งส่งผลให้มีค่าออสโมลาลิตี้ ระดับความเข้มข้นของโซเดียม คลอรีน โปแตสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียม ฟอสฟอรัส แมงกานีส ทองแดง กำมะถัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไกลโคสอะมิโนไกลแคนมากขึ้น (p<0.05) ทั้งในเลือด และแร่ธาตุในเปลือกกุ้งกุ้งกุลาดำที่เลี้ยงในบ่อซิเมนต์และบ่อดิน โดยการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้นมีปัจจัยจำกัดมาจากความเค็มน้ำ รวมทั้งการเสริมเกลือแร่ในระดับความเค็มต่างๆ ยังมีผลต่อการเจริญเติบโต ระยะเวลาลอกคราบ ความแข็งแรงเปลือก ความขรุขระของเปลือกกุ้งกุลาดำอีกด้วย (p<0.05) ขณที่ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสีและความแวววาวของเปลือกกุ้ง (p>0.05) จากการทดลองชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นของการเสริมเกลือแร่ถึงระดับ 3% สำหรับการเลี้ยงกุ้งในน้ำความเค็มต่ำกว่า 10 ppt และลดระดับเกลือแร่ลงได้หาระดับความเค็มน้ำที่ใช้สูงเพิ่มขึ้นth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ - - การเลี้ยงth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ - - วิจัยth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ - - อาหารth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำth_TH
dc.subjectอาหารเสริมth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleผลของการเสริมเกลือแร่ในอาหารและการเปลี่ยนแปลงสารเคมีของกุ้งกุลาดำที่เลี้ยงระบบพัฒนาth_TH
dc.title.alternativeEffects of minerals supplementation in diet to physiochemical changes in the in the intensive pond-reared penaeus monodonen
dc.typeResearch
dc.year2548
dc.description.abstractalternativeEffects of levels of salinity (0.5, 10, 20 and 30 ppt) and 3 levels of minerals supplement in feed (0%, 1% and 3%) on growth, molting period, survival rate, and strengthen, roughness, color and luster of cuticle of juvenile shrimp (Penaeus monodon) that cultured in concrete pond and in earthen pond under low salinity were studied. In additions, variations of osmolality, Ca, Mg, Na, Cl, Ka, P, Mn, Cu, S, protein, carbohydrate and glycosmonoglycans in plasma and cuticle of shrimp were also examined. The results showed that osmolality, concentrations of Ca, Mg, Na, Cl, Ka, P, Mn, Cu, S, protein, carbohydrate and glycosmonoglycans in plasma and cuticle of P. monodon were significantly affected (P<0.05) by levels of minerals supplement in feed. The level of salinity was limiting factor for the significant variations of these. Furthermore, growth, molting period, survival rate, strengthen and roughness of cuticle (except for color and luster) were also affected (p<0.05) by the supplementation level of minerals in diet under different salinity. This indicated that minerrals supplementation up to 3% in feed is necessary for low salinity shrimp culture (<10 ppt) and the supplementation level can be decreasing when cultured in higher salinityen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
viewobj (6)2.38 MBUnknownดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น