DSpace Repository

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง

Show simple item record

dc.contributor.advisor เขมารดี มาสิงบุญ
dc.contributor.advisor วัลภา คุณทรงเกียรติ
dc.contributor.author ธัญญ์ญาณัช บุญอร่าม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:36:24Z
dc.date.available 2023-09-18T07:36:24Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9979
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract ความเหนื่อยล้าเป็นอาการที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังและสร้างความทุกข์ทรมานให้กับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังมากเป็นอันดับหนึ่ง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเหนื่อยล้าและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจล้ม เหลวเรื้อรังที่มาตรวจรักษาตามแพทย์นัดที่แผนกผู้ป่วยนอกอายุรกรรม โรงพยาบาลนครนายก จำนวน 85 รายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามความเหนื่อยล้าแบบสอบถามอาการนอนไม่หลับแบบสอบถามอาการซึมเศร้าและแบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมได้ค่า ความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ .90, .95, .89 และ .95 ตามลำดับ ส่วนแบบสอบถามอาการหายใจลำบากมีค่าความเชื่อมั่น โดยวิธีทดสอบซ้ำ เท่ากับ .93 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและการวิเคราะห์สถิติถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังมีความเหนื่อยล้าอยู่ในระดับมาก (M = 7.21, SD = 1.60) ปัจจัยด้านอาการหายใจลำบากอาการนอนไม่หลับอาการซึมเศร้า และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายความเหนื่อยล้าของกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 37 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R 2 adj= .37, p-value < .001) รองลงมาได้แก่ อาการซึมเศร้าและอาการนอนไม่หลับ (Beta = .27 และ Beta = .26, p < .01 ตามลำดับ) ส่วนการสนับสนุนทางสังคมไม่สามารถทำนายความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Beta = .03, p> .05) ผลการศึกษาครั้งนี้เสนอแนะว่า ในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อบรรเทาความเหนื่อยล้าควรที่จะเน้นเรื่องการจัดการกับอาการหายใจลำบากอาการซึมเศร้าและอาการนอนไม่หลับ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject หัวใจวาย -- ผู้ป่วย
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่
dc.subject หัวใจวาย
dc.title ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
dc.title.alternative Fctors influencing ftigue in ptients with chronic hert filure
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Fatigueis a symptom that often found in patients with chronic heart failure (CHF), and leads to patients suffering. The purpose of this research was to explore fatigues in patients with CHF and examine factors influencing fatigue in patients with CHF.Participants were 85 patients with CHF recruited from a medical out-patient clinic at Nakhon Nayok hospital. The Data were collected using 1) demographic data form, 2) fatigue scale, 3) insomnia scale, 4) depression scale, and 5) social support questionnaires. Their Cronbach’s alpha efficient were .90, .95, .89 and .95 respectively, and dyspnea questionnaire with test-retest reliability was .93. Data was analyzed by descriptive statistics and Multiple Regressions Analysis. The results revealed that the patients with CHF had fatigue with were high level (M = 7.21, SD =1.60). Dyspnea, insomnia, depression, and social support predicted 37 % in variation of fatigues in patients with CHF (R 2 adj = .37, p-value < .001). Dyspnea were the strongest predictor of fatigue (Beta = .37, p< .001) followed by depression and insomnia (Beta = .27 and Beta = .26, p < .01 respectively), and social support was not able to predict significantly (Beta = .03, p>.05). The findings suggest that to develop intervention for fatigues management in patients with CHF should be focused on dyspnea, depression, and insomnia management.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การพยาบาลผู้ใหญ่
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account