DSpace Repository

การออกแบบ Art toy ที่ผสมผสานอารมณ์ความรู้สึกของวัยเด็กเข้ากับการออกแบบเชิงปฎิสัมพันธ์

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชัยยศ วนิชวัฒนานุวัติ
dc.contributor.advisor เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง
dc.contributor.author แฟน, จิ เซียง
dc.contributor.author Fn, Ji Xing
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:36:17Z
dc.date.available 2023-09-18T07:36:17Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9946
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสนใจและมุมมองของวัยรุ่นในสังคมยุคปัจจุบันต่อของเล่นดั้งเดิม และมุมมองต่อของเล่นที่อยู่ท่ามกลางชีวิตของเราและออกแบบ Art Toy โดยวิธีออกแบบเชิงปฏิสัมพันธ์ให้เกิดสุนทรียภาพทางศิลปะเพื่อสัมผัสประสบการณ์ความงดงามของผลงานศิลปะที่ออกแบบของเล่นและสื่อนำ อารมณ์เพิ่มความสุขให้กับผู้เล่น Art Toy ไปแบ่งปันความสุข (ความรู้สึกเป็นสุข) ผลการวิจัยพบว่า การผสมผสานการออกแบบของเล่นศิลป์กับอารมณ์ของนักออกแบบเป็นรากฐานของการสร้างของเล่นของศิลปินที่แท้จริงของเล่นที่มีอารมณ์ เป็นของเล่นที่ทำให้ผู้เล่นชื่นชอบ ต้องมีการเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์ที่ดีสามารถย่นระยะห่างระหว่างของเล่นกับผู้เล่นได้จนทำให้มีการสร้างการปฏิสัมพันธ์ระหว่างของเล่นศิลป์กับผู้เล่นและเกิดความรู้สึกเห็นพ้องกันและเข้าใจซึ่งกันและกันด้วย ส่วนการออกแบบผู้ออกแบบได้ส่งมอบของเล่นศิลป์ให้กับผู้เล่นในรูปแบบที่เหลือช่องว่างไว้ให้ผู้เล่นเกิดปฏิสัมพันธ์สามารถใช้ความคิดทางอารมณ์ความรู้สึกของผู้เล่นและการสร้างงานศิลปะของเล่นด้วยวิธีหลากหลายต่าง ๆ วาดภาพ ตัวอักษร สติ๊กเกอร์ที่ไม่มีทางซ้ำใคร มอบต้นฉบับขั้นตอนการลงสีของนักออกแบบให้ผู้เล่นได้สัมผัสประสบการณ์ให้ผู้เล่นสร้างสรรค์ผ่านความอารมณ์ความรู้สึกให้ยิ่งเกิดการผสมผสานกับการออกแบบทางอารมณ์ของศิลปินเข้ากับบุคลิกและอารมณ์ความรู้สึกส่วนบุคคลของผู้เล่นให้ผู้เล่นมีพื้นที่ในการเล่นที่สร้างสรรค์มากขึ้น สัมผัสกับอารมณ์และความสนุกสนานจากของเล่นศิลป์อย่างเต็มที่
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject สุนทรียภาพ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subject การออกแบบ
dc.subject ศิลปกรรมกับการออกแบบ
dc.title การออกแบบ Art toy ที่ผสมผสานอารมณ์ความรู้สึกของวัยเด็กเข้ากับการออกแบบเชิงปฎิสัมพันธ์
dc.title.alternative The design of rt toy: nmlgmtion of childhood emotionndfeeling s interctiondesign
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study the interest and views of teenagers in modern society towards traditional toys, and viewpoint of toys in the midst of our lives, and to design Art Toy by using interactive design methods to create artistic aesthetics for experience the beauty of the artworks that designed toys and conveyed emotions, increased happiness for Art Toy players to share happiness (Feeling of happiness). The results of the research found that the combination of the design of Art Toy with the emotions of the designer was the foundation of the creation of a true Art Toy, the emotional toys were the toys that players loved, must add creativity in design, and good creativity can be able to shorten the distance between the Art Toy and players, until the interaction between the Art Toy and players and the feeling of mutual agreement and understanding with each other; as for the design, the designer delivered the Art Toy to the players in a way that left gaps for the players to interact, able to use the emotional thoughts and feelings of the players, and the creation of Art Toy in variety of way, such as drawing, letters and unique stickers, providing the original coloring process for the players to touch the experience, allowing players to create creativity through the combination of the artist’s emotional design matched the personality and personal mood of the players, providing players with a more creative playing space, fully touching the emotion and fun from Art Toy.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline ทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.name ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account