DSpace Repository

ลวดลายประดับตกแต่งวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี : การประยุกต์สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ทองเหลือง ชุมชนบ้านท่ากระยาง

Show simple item record

dc.contributor.advisor เทพศักดิ์ ทองนพคุณ
dc.contributor.advisor ภรดี พันธุภากร
dc.contributor.author อิษฎ์ รานอก
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:36:11Z
dc.date.available 2023-09-18T07:36:11Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9933
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัย เรื่อง “ลวดลายประดับตกแต่งวัดพระศรีรัตนมหาธาตุจังหวัดลพบุรี: การประยุกต์สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ทองเหลือง ชุมชนบ้านท่ากระยางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาและรวบรวมลวดลายประดับตกแต่ง สถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ตำบลทะเลชุบศรจังหวัดลพบุรีและแหล่งผลิตหัตถกรรมทองเหลืองบ้านท่ากระยางจังหวัดลพบุรี 2) วิเคราะห์และสังเคราะห์ลวดลายประดับตกแต่งศึกษาจากรูปร่าง สภาพภายนอก สีพื้นผิวรูปแบบลวดลายและผลิตภัณฑ์ทองเหลืองดั้งเดิม เพื่อประยุกต์เป็นแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์และ 3) สร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ประเภทของตกแต่งบ้าน และเป็นแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทองเหลืองในท้องถิ่น โดยผู้วิจัยลงพื้นที่รวบรวมลวดลายประดับตกแต่ง ปรางค์มหาธาตุ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุจัหงวัดลพบุรีโดยสรุปลวดลายกลุ่มตัวอย่างลวดลายประดับตกแต่ง ศิลปะลพบุรีพบว่า ลวดลายที่มีการวิวัฒนาการสวยงามและโดดเด่น ได้แก่ ลายกรวยเชิง ลายเฟื่องอุบะ ลายหน้ากระดานดอกสี่เหลี่ยม ลายกลีบบัว ลายดอกบัวตูม ลายดอกบัวตูม และลายรูปหงส์ นำมาวิเคราะห์เพื่อการออกแบบ และประยุกต์ เป็นต้น แบบผลิตภัณฑ์ทองเหลือง ชุมชนท่ากระยางจังหวัดลพบุรีโดยมีวิธีการดำเนินการวิจัยใช้แบบสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูลจากการกลุ่มผู้บริโภคและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการสัมภาษณ์นำลวดลายที่ได้คัดเลือก นำมาเขียนแบบร่างต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ทองเหลืองต้นแบบประเภทของตกแต่งจำนวน 4 รูปแบบ ได้แก่ แจกัน โคมไฟ เชิงเทียน และเครื่องแขวนประเภท กระดิ่ง ทดสอบการใช้งานผลิตภัณฑ์ นำผลิตภัณฑ์ไปจัดแสดงผลงาน และประเมินผลงานการออกแบบ พบว่า ผลิตภัณฑ์เครื่องแขวนประเภท กระดิ่งและแจกัน มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากสุดเท่ากันที่ (𝑋̅ =4.70) โคมไฟมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (𝑋̅ =4.64) และเชิงเทียน มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (𝑋̅ =4.36)
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ศิลปกรรม -- การอนุรักษ์และการบำรุงรักษา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subject ศิลปกรรมพุทธศาสนา
dc.subject วัดพระศรีรัตนมหาธาตู ลพบุรี
dc.title ลวดลายประดับตกแต่งวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี : การประยุกต์สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ทองเหลือง ชุมชนบ้านท่ากระยาง
dc.title.alternative Decortive pttern t pr sri rtn mhtt temple lopburi: ppliction to brss product design bn th kryng community
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The research entitled “Decorative patterns Wat Phra Si Rattana Mahathat Lop Buri Province: Application to Brass Product Design at Ban Tha Krayang community” aims to 1) study and collect decorative patterns of architecture at Wat Phra Sri Rattana Mahathat, and the Ban Tha Krayang brass handicraft production community at Thale Chup Son district, Lopburi. 2) Analysis and synthesis decorative pattern from the shape, physical condition, color, texture, pattern, and original brass products in order to apply into product design concept. 3) Create prototypes for home decoration products as a guideline for the development of local brass products at Ban Tha Krayang. The researcher collected the motif of interior decorative design, art and craft at Wat Phra Sri Rattana Mahathat and Lopburi’s art pattern. The conclusion from analyzing the sample group of Loburi motif arts found that the most outstanding and beautiful motifs are Triangular Floral Designs, Pendant Designs, Lozenges of The Diaper Course, Quatre Foil Moulding, Lotus Petal Designs, Lotus Bud Motif, and Hamsas Stucco. The result of study was applied with the design of Tha Krayang’s brass products. Target consumer interview and in - depth interviews from design experts were used to analyze the data. The selected pattern sketches from interview were used as the guideline for the design and production of the home decoration brass prototypes, which include vases, lanterns, candlestick and decorative mobile. Product testing was conducted during the exhibition show. The design evaluation revealed that the level of suitability is high for both the decorative mobile and vase at (𝑋̅ =4.70). The level of suitability is also high for lamps (𝑋̅ =4.64) and candlestick (𝑋̅ =4.36).
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline ทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account