dc.contributor.advisor |
อนามัย เทศกะทึก |
|
dc.contributor.advisor |
ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข |
|
dc.contributor.author |
จิระพงศ์ จันทา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-18T07:32:13Z |
|
dc.date.available |
2023-09-18T07:32:13Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9929 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านการทำงาน และค่าความเข้มข้นของแก๊สเอทิลีนออกไซด์ที่ส่งผลกระทบต่อสมรรถภาพปอด และอาการของระบบทางเดินหายใจของผู้ปฏิบัติงานในหน่วยจ่ายกลางของโรงพยาบาลในจังหวัดระยองกลุ่มตัวอย่าง 70 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 90.00 อายุเฉลี่ย เท่ากับ 40.71 ± 9.18 ปี ส่วนใหญ่ไม่มีประวัติเกี่ยวกับโรคหอบหืดหรือภูมิแพ้ร้อยละ 87.10 โดยมีระยะเวลาการทำงานเฉลี่ยเท่ากับ 1.53 ± 0.737 ปี ในห้องอบฆ่าเชื้อมีระบบระบายอากาศทั่วไป ร้อยละ 88.57 และขณะเข้าห้องอบฆ่าเชื้อผู้ปฏิบัติงานสวมใส่หน้ากากป้องกัน สารเคมีร้อยละ 68.57 ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ไม่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจร้อยละ 54.29 โดยมีอาการไอมากที่สุดร้อยละ 22.86 สภาพแวดล้อมการทำงานมีความเข้มข้นของแก๊สเอทีลีนออกไซด์มากที่สุดที่ห้องเก็บชิ้นงาน (โรงพยาบาลแห่งที่ 4) 0.696 ppm ค่าเฉลี่ยของการรับสัมผัสแก๊สเอทิลีนออกไซด์ TWA มีค่า 0.051 - 0.100 ppm ร้อยละ72.85 ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.086 ± 0.029 ppm และผู้ปฏิบัติงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีค่า FEV1 / FVC (%) ปกติร้อยละ 92.86 จากการศึกษาวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสมรรถภาพปอด FEV1 / FVC ได้แก่ ปัจจัยด้านการใส่หน้ากากป้องกันสารเคมี(p–value , 0.021) และความเข้มข้นของแก๊สเอทีลีนออกไซด์ในพื้นที่การทำงาน (p–value , 0.002) 2) ปัจจัยที่มีความสัม พันธ์กับอาการมีเสมหะ ได้แก่ ระยะเวลาในการรับสัมผัส (วัน/ปี) (X 2 = 7.938 ,p-value = 0.005) การใช้หน้ากากป้องกัน สารเคมี (X 2 = 3.970, p-value = 0.046) จากผลการศึกษานี้มีข้อเสนอแนะว่า ผู้ที่ปฏิบัติงานกับแก๊สเอทิลีนออกไซด์ควรใส่ หน้ากากป้องกันสารเคมีเมื่อปฏิบัติงานกับแก๊สเอทีลีนออกไซด์เพื่อลดการรับสัมผัสกับแก๊สเอทีลนออกไซด์โดยตรงควรจัดให้มีพัดลมระบายอากาศในพื้นที่ห้องอบฆ่าเชื้อที่ใช้แก๊สเอทีลีนออกไซด์ ควรมีการหมุนเวียนผู้ปฏิบัติงานเพื่อลดระยะเวลาการรับสัมผัสของผู้ปฏิบัติงาน และควรมีการเฝ้าระวังทางสุขภาพและมีการตรวจสมรรถภาพของปอดเป็นประจำทุกปี |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ทางเดินหายใจ |
|
dc.subject |
เอทิลีออกไซด์ |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย |
|
dc.title |
ความเข้มข้นของแก๊สเอทีลีนออกไซด์ สมรรถภาพปอด และอาการของระบบทางเดินหายใจของผู้ปฏิบัติงานในหน่วยจ่ายกลางของโรงพยาบาลในจังหวัดระยอง |
|
dc.title.alternative |
Ethylene oxide concentrtion, lung function nd respirtory symptoms mong workers in hospitls' centrl sterile supply deprtment in ryong province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research is a cross- sectional study. The had the objective is to study human
social factors, . Wwork-related factors and in relation to the concentration of ethylene oxide gas
affecting . That affects lung function And relate to and related respiratory symptoms of workers in
the central supply unit oOf hospitals in Rayong Province.
70 hospital workers participated in the study. samples. Most of them weare female
(90.00%), with an average age of 40.71 ± 9.18 years. Most of them (87.10%) hadve no history of
asthma or allergies. 87.10% with anOn average they had worked in their current position for
working period of 1.53 ± 0.737 years. In most of the the sterilizing room (88.57%), there weare
general ventilation systems, 88.57% and 68.57% of the workers reported to wear protective face
masks while entering the sterilization room, workers wear chemical protective masks 68.57%..
Most workers (54.29%) dido not report have respiratory disorders 54.29%. The most commonly
reported symptom of respiratory disorders was coughing workers had the most coughing at
(22.86%). The working environment had the When measuring the concentration of ethylene oxide
in the working environment,. The most was found at the work room of (Hospital No. 4) (0.696
ppm). The average exposure of TWA to[JW1] ethylene oxide wasis 0.051 - 0.100 ppm, which
was experienced by, 72.85%. The average , average isexposure to ethylene oxide was 0.086 ± 0.029 ppm. And mMost workers have had a normal FEV1
/FVC (%) of 92.86%
The results showed indicate that 1) factors that affect lung function FEV1 / FVC are
factors of wearing a chemical protective mask (p–value, 0.021) and the concentration of ethylene
oxide in the working area (p - value, 0.002). 2) fFactors related to sputum symptoms were, ie
exposure time (day / year) (X
2
= 7.938, p-value = 0.005) and, the use of chemical protective
masks (X
2
= 3.970, p-value= 0.046).
Taking these findings into consideration, it can be concluded that those who work
with ethylene oxide. should wear chemical protective masks. wWhenile working with ethylene
oxide gas to reduce direct exposure to ethylene oxide. Rooms where ethylene oxide is used
sShould provide have a ventilation system in the sterilization room that uses ethylene oxide.
There should be a worker rotation system to further reduce the exposure time of the
workersoperator. Finally, it is recommended that there And should have be health surveillance
and lung function tests for workers exposed to ethylene oxide every year. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|