DSpace Repository

ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนแกลง "วิทยสถาวร" สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธนวิน ทองแพง
dc.contributor.advisor ประยูร อิ่มสวาสดิ์
dc.contributor.author ปัณณสรณ์ ปวเรศฐิติบูรณ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:32:04Z
dc.date.available 2023-09-18T07:32:04Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9884
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัญหา รวมทั้งหาแนวทาง การพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนแกลง “วิทยสถาวร” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน และกลุ่มสาระการเรียนรู้ กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie and Morgan (1970, pp. 608-609) ได้จำนวนตัวอย่าง 103 คน แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับมีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .20-.86 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ .97 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และเมื่อพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนแกลง “วิทยสถาวร” สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับน้อย 2. ปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนแกลง “วิทยสถาวร” สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จำแนกตามประสบการณ์ พบว่า โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อจำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า โดยรวมและรายด้านทุกด้านมีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนแกลง “วิทยสถาวร” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สามอันดับแรก ได้แก่ ผู้บริหารควรจัดให้มี การอบรมเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาการศึกษาสำหรับครู ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และผู้บริหารควรจัดให้มีการประชุมชี้แจง และให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การพัฒนาการศึกษา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject การศึกษา -- การบริหาร
dc.title ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนแกลง "วิทยสถาวร" สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
dc.title.alternative Problem nd guideline for cdemic ffirs dministrtive development of kleng“wittysthworn”school under the secondry eduction service re office 18
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this research was to study problems and guidelines for academic affair administrative development of Klaeng “Wittayasathaworn” School under the Secondary Education Service Area Office 18, categorized by work experience and department of the respondents. The sample of this research was 103 teachers from Kleang “Wittayasathaworn” School, the sample size estimated by using Krejcie & Morgan Table. The data collection tool was five scate rating scale questionnaire which had the item discriminative power between .20-.86 and reliability of .97. The statistics used to analyze the data were Mean (), Standard deviation (SD), One-way ANOVA and Scheffe’s test method. The study revealed that: 1. The problems of academic affair administration of Klaeng “Wittayasathaworn” School under the Secondary Education Service Area Office 18 were at low level in both overall and each aspect. 2. The problems of the academic affair administration of Klaeng “Wittayasathaworn” School under the classified by different experience of teachers was statistically significant different at .05 level both overall and each aspect, there was no statistically significant different when classified by department. 3. The first three guidelines for academic affair administrative development of Klaeng “Wittayasathaworn” School were, school administrator should provide teachers a training on research for education development or research for educational problem solving. Second, all teachers should emphasize on student centered learning and create student centered activities for students. The third, school administrator should hold a meeting to provide teachers’ understanding about how to develop and use a school curriculum effectively.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account