DSpace Repository

สภาวะมนุษย์ในปรัชญากฤษณมูรติ

Show simple item record

dc.contributor.advisor สกุล อ้นมา
dc.contributor.advisor ชัยณรงค์ ศรีมันตะ
dc.contributor.author ชญาดา ราศรีจันทร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:20:05Z
dc.date.available 2023-09-18T07:20:05Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9850
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดสภาวะมนุษย์ในปรัชญาอินเดียและแนวคิดสภาวะมนุษย์ในปรัชญากฤษณมูรติโดยรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ เอกสาร วีดิทัศน์และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วนำมาวิเคราะห์และนำเสนอในเชิงพรรณาผลการวิจัยพบว่า สภาวะมนุษย์ในปรัชญาอินเดียทั้งอาสติกะและนาสติกะ สามารถแบ่งออกเป็นทั้งด้านร่างกายและจิตใจซึ่งเป็นปัจจัย ที่สัมพันธ์กัน ปรัชญาอินเดีย มีจุดประสงค์หลักในชีวิตคือการกลับไปรวมกันกับความเป็นจริง ขั้นสูงสุด โดยอาศัยแนวทางการใช้ชีวิตอย่างถูกต้องชอบธรรม ส่วนสภาวะมนุษย์ในปรัชญา กฤษณมูรตินั้น สามารถมองได้หลายมิติ กล่าวคือ มนุษย์มีความกลัว ความอยาก ความทะเยอทะยาน ความริษยา ความอ้างว้างเดียวดาย การหลบหนี ความเคยชิน ความสับสน ความตายการตื่นรู้ ความเป็นจริง ความรักเสรีภาพ รวมเป็นความทุกข์ที่มีความขัดแย้งกันอยู่นับตั้งแต่เกิดจนตาย ชีวิตของมนุษย์เราเป็นเพียงภาพสะท้อนของสภาวะภายในตนเองแต่อย่างไรก็ตาม มนุษย์สามารถเข้าถึงอิสรภาพได้โดยอาศัยภาวะจิตที่มีการตื่นรู้เพื่อเกิดสมาธิและมีปัญญา ประการสำคัญ กฤษณะมูรติไม่ต้องการให้ผู้คนยึดติดในแนวคิดของเขา เพราะเขาเชื่อว่า มนุษย์แต่ละคน สามารถเป็นครูและศิษย์ของตนเองได้ มนุษย์ควรแสวงหาและสืบสวนสิ่งต่าง ๆ อย่างที่มันเป็นโดยปราศจากการตัดสิน ถูกผิด ดีชั่วมนุษย์จึงสามารถเรียนรู้ได้จากอดีต ใช้หลักสำคัญ คือ การสังเกตวิเคราะห์เพื่อตรวจสอบตนเองตลอดเวลา การค้นหาเข้าไปข้างในและในที่สุดก็จะสามารถปลดปล่อยตนเองให้เป็นอิสระจากสภาวะต่าง ๆ ได้
dc.language.iso th
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ปรัชญาอินเดีย
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาปรัชญา
dc.title สภาวะมนุษย์ในปรัชญากฤษณมูรติ
dc.title.alternative Humn condition in krishnmurti ’s philosophy
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study the concept of human condition in Indian philosophy and to analyze the concept of human condition in Krishnamurti’sphilosophy. The data such asbooks, writings, video and the related research works will be studied, analyzed and synthesized systematically and finally will be presented in a descriptive manner. The research findings were as follows: Human condition in Indian philosophy both the Astika and Nastika can be analysed as both body and mind which are interrelated factors. Indian philosophy has same purpose of human life is to unite with the ultimate reality by living life righteously according to prescribed. Human beings are capable of cognition and experience. On the other hand, human condition in the philosophy of Krishnamurati can be viewed in many dimensions, that is, all human beings have fear, desire, ambition, envy, loneliness, escape, habit, confusion, death, awareness, truth, love, freedom and suffering confliction from the moment they are born until death. Our lives are merely a reflection of our inner condition. However, human beings have capacity to attain freedom through self-awarenessfor concentration and intelligence. Krishnamuratidoes not want people to blindly accept his ideas as he beleives that each one of us can be hisor her own teacher or disciple. Man should investigate and see the things as they are without judgment, distinguishing them as right or wrong, good or bad. Human beings can always learn from their past by lookinginwardsself observation, analysis and to verify for ourselves all the time and finally will get the real freedom from various conditions.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline ปรัชญา
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account