DSpace Repository

บุคลิกภาพแบบหวั่นไหวและคติสมบูรณ์แบบเพื่อทำนายความวิตกกังวลทางสังคมของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 ในภาคใต้ของประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปริญญา เรืองทิพย์
dc.contributor.advisor อุทัยพร ไก่แก้ว
dc.contributor.author สุปรีชา ชำนาญพุฒิพร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:20:02Z
dc.date.available 2023-09-18T07:20:02Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9840
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของบุคลิกภาพแบบหวั่นไหวและคติสมบูรณ์แบบเพื่อทำนายความวิตกกังวลทางสังคมของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 ในภาคใต้ของประเทศไทย และตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดล ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษา ระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ที่กำลังศึกษา ในมหาวิทยาลัยภาคใต้ของประเทศไทย จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ วิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานโดยใช้โปรแกรม SPSS และวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุโดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัยปรากฏว่า โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของบุคลิกภาพแบบหวั่นไหวและ คติสมบูรณ์แบบเพื่อทำนายความวิตกกังวลทางสังคมของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 ในภาคใต้ของประเทศไทย ตามสมมติฐานมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าสถิติ X2 = 91.42, p = .07, df = 73, X2/df = 1.25, RMSEA = .02, SRMR = .05, RMR = .01, CFI = 1.00, GFI = .97 และ AGFI = .94 ยืนยันว่าบุคลิกภาพแบบหวั่นไหวและคติสมบูรณ์แบบร่วมกันสามารถอธิบายความแปรปรวนของความวิตกกังวล ได้ด้วยค่าความถูกต้องร้อยละ 25.00 ซึ่งบุคลิกภาพแบบหวั่นไหวและคติสมบูรณ์แบบมีอิทธิพลทางบวกต่อความวิตกกังวลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยตัวแปรคติสมบูรณ์แบบมีอิทธิพลต่อความวิตกกังวลสูงสุด รองลงมาคือบุคลิกภาพแบบหวั่นไหว
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา.
dc.subject บุคลิกภาพ
dc.title บุคลิกภาพแบบหวั่นไหวและคติสมบูรณ์แบบเพื่อทำนายความวิตกกังวลทางสังคมของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 ในภาคใต้ของประเทศไทย
dc.title.alternative Neuroticism nd perfectionism personlities s predictors of socil nxiety for the 1st yer undergrdute students in southern thilnd
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative his research aimed to develop a causal relationship model of neuroticism and perfectionism personalities as predictors of social anxiety for university students in Southern Thailand, and to test the validity of the model using empirical data. Participants, selected by stratified random sampling, were 400 undergraduate students currently studying in the 1st year of the academic year 2019 in universities located in Southern Thailand. The SPSS and LISREL computer programs were employed for data analysis. It was found that the hypothesized causal relationship model of neuroticism and perfectionism personalities as predictors of social anxiety for the 1st year undergraduate students correlated with empirical data. Additionally, the statistical values (X2 = 91.42, p = .07, df = 73, X2/df = 1.25, RMSEA = .02, SRMR = .05, RMR = .01, CFI = 1.00, GFI = .97 and AGFI = .94) confirmed that the neuroticism and perfectionism personalities were capable predictors of anxiety with 25% accuracy. Moreover, both neuroticism and perfectionism personalities showed a level of positive influence on anxiety, with statistical significance at the .01 level. The neuroticism personality displayed the highest influence on anxiety, followed by the perfectionism personality.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account