dc.contributor.author |
ชลี ไพบูลย์กิจกุล |
th |
dc.contributor.author |
บัลลังก์ เนื่องแสง |
th |
dc.contributor.author |
บัญชา นิลเกิด |
th |
dc.contributor.author |
วศิน ยุวนะเตมีย์ |
th |
dc.contributor.author |
เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเทคโนโลยีทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:54:56Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:54:56Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/971 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาการพัฒนาอาหารกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon โดยใช้กล้วยเป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตและสารเหนียว ผลการศึกษาพบว่าการเพิ่มกล้วยทดแทนคาร์โบไฮเดรตในอาหารมีผลต่อการเจริญเติบโต กุ้งที่ได้รับอาหารที่มีการใช้กล้วยต่อคาร์โบไฮเดรตในอัตรา 10:90 เปอร์เซนต์ หรือ 3 เปอร์เซนต์ในอาหาร มีการเจริญเติบโตสูงกว่ากุ้งที่ได้รับอาหารที่มีการใช้กล้วยต่อคาร์โบไฮเดรตในอัตรา 0:100 และ 20:80 เปอร์เซนต์ อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ในขณะที่กุ้งที่ได้รับอาหารที่มีการใช้กล้วยต่อคาร์โบไฮเดรตในอัตรา 10:90 เปอร์เซนต์ มีอัตราการรอดไม่แตกต่างจากกุ้งที่ได้รับอาหารที่ไม่มีการใช้กล้วยเป็นส่วนประกอบ แต่กุ้งที่ได้รับอาหารที่มีการใช้กล้วยต่อคาร์โบไฮเดรตในอัตรา 20:80 เปอร์เซนต์ มีอัตรารอดต่ำกว่ากุ้งอีก 2 ชุดทดลองอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05)
ผลการศึกษาการใช้กล้วยทดแทนสารเหนียวพบว่าสามารถใช้กล้วยประมาณ 3 เปอร์เซนต์โดยน้ำหนัก ผสมในอาหารกุ้งเพื่อทดแทนสารเหนียวได้โดยที่ไม่ทำให้คุณภาพของอาหารเปลี่ยนแปลง จากการทดสอบความคงตัวของอาหารกุ้งที่ไม่มีการใช้กล้วยทดแทนคาร์โบไฮเดรต และใช้สารเหนียว 1 เปอร์เซนต์ในอาหาร เปรียบเทียบกับอาหารกุ้งที่มีการใช้กล้วย 3 เปอร์เซนต์ และไม่มีการใช้สารเหนียว พบว่าปริมาณแอมโมเนียที่ละลายน้ำเฉลี่ยของอาหารที่แช่น้ำ 24 ชั่วโมง มีปริมาณไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P>0.05) กุ้งที่ได้รับอาหารที่มีการใช้กล้วย 3% เปอร์เซนต์ และมีการใช้สารเหนียวในอาหาร 0 และ 1 เปอร์เซนต์ มีอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดไม่แตกต่างกัน (p>0.05)
จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการใช้กล้วยเป็นวัตถุดิบอาหารกุ้งในปริมาณที่เหมาะสมสามารถทำให้กุ้งมีการเจริญเติบโตที่ดีขึ้น ช่วยลดการใช้สารเหนียวในการประกอบอาหารกุ้งและลดต้นทุนการประกอบอาหารกุ้งได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ทุดอุดหนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2548 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กุ้งกุลาดำ - - การเจริญเติบโต |
th_TH |
dc.subject |
กุ้งกุลาดำ - - การเลี้ยง |
th_TH |
dc.subject |
กุ้งกุลาดำ - - อาหาร |
th_TH |
dc.subject |
กุ้งกุลาดำ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาอาหารกุ้งกุลาดำโดยใช้กล้วยเป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตและสารเหนียว |
th_TH |
dc.title.alternative |
Usage of banana for source of carbohydrate and natural binder in shrimp feed |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2549 |
|
dc.description.abstractalternative |
The results of banana usage for source of carbohydrate and natural binder in black tiger shrimp Penaeus monodon feed showed that the replacement of carbohydrate with banana on shrimo feed could improve shrimp growth. Shrimp fed diet containing 10% banana per 90% carbohydrate or 3% banana in feed by weight had significantly greater (P <0.05) growth than that of shrimp fed diet containing 0% banana per 100% carbohydrate and 20% banana per 80% carbohydrate. Survivals of shrimp fed diets containing 10% banana per 90% carbohydrate and 0% banana per 100% carbohydrate were not significantly different (P>0.05) but these groups had significantly higher survival than those fed 20% banana per 80% carbohydrate.
Result of the replacement of binder with banana on shrimp feed demonstrated that the feed stability comparison of feed containing 1% binder without banana and feed containing 3% banana without binder had not significantly different (P>0.05) on average dissolved ammonia when immersed feeds at 24 hr. Growth and survival of shrimp fed diets containing 3% with adding 0 and 1% binders were not significantly different (P>0.05).
This study illustrated that the appropriated amont of banana usage for source of carbohydrate and natural binder in shrimp growth, reduce binder usage in shrimp feed and reduce cost of feed production. |
en |