DSpace Repository

แก้วผสานเครื่องปั้นดินเผา: รูปลักษณ์พึ่งพิงในงานศิลปะ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภรดี พันธุภากร
dc.contributor.advisor เสริมศักดิ์ นาคบัว
dc.contributor.author สุทธินี สุขกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T06:42:45Z
dc.date.available 2023-09-18T06:42:45Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9528
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract โครงการวิจัย แก้วผสานเครื่องปั้นดินเผา: รูปลักษณ์พึ่งพิงในงานศิลปะ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ เทคนิคทางการตกแต่งเครื่องปั้นดินเผาและเทคนิคการสร้างงานแก้วทางศิลปะ หาองค์ความรู้ในการพัฒนาเทคนิค วิธีการตกแต่งเครื่องปั้นดินเผาให้มีกระบวนการทางเทคนิค จากนวัตกรรมการผสานวัสดุที่มีมิติที่แตกต่าง และสังเคราะห์องค์ความรู้สู่การสร้างสรรค์ ผลงานทัศนศิลป์ ต้นแบบ จากการผสมผสานวัสดุเครื่องปั้นดินเผากับแก้ว แนวคิดการพึ่งพิง วิธีดําเนินการวิจัย กําหนดพื้นที่แบบเจาะจง 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มเพื่อการวิจัยเชิงสังเกต ศูนย์ศิลปาชีพระหว่างประเทศ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และกรมวิทยาศาสตร์บริการ กรุงเทพฯ และกลุ่มเพื่อการวิจัยเชิงสังเกตแบบมีส่วนร่วม แผนกเป่าแก้ว แผนกกระจกสี ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และโรงงานโลตัสคริสตัล จังหวัดระยอง การเลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยวิธีการสุ่มแบบเจาะจงผู้เชี่ยวชาญทางด้านการผลิต จํานวน 2 ท่าน และศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงานแก้ว จํานวน 3 ท่าน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ และทําการทดลอง ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการหาอัตราส่วนผสมจากทฤษฏีเส้นตรง ซึ่งเป็นการแปรค่าอัตราส่วนผสมแบบ 2 ชนิด เพื่อให้เกิดเทคนิคเฉพาะที่จะนําไปใช้ในการสร้างสรรค์ ผลปรากฏว่า ทฤษฏีเส้นตรงให้ผลการหลอมรวมระหว่างแก้วกับเนื้อดินได้ดีจาก 2 เทคนิค คือ เทคนิคที่ 1 Mixing Materials in Clay ผลที่ได้พบว่า จุดที่ใส่ปริมาณแก้ว B ตั้งแต่ร้อยละ 50 เนื้อดินขึ้นรูปได้ยาก และเทคนิคที่ 2 Mixing Materials ผลการทดลองพบว่า แก้วหลอมเป็นเนื้อเดียวกันที่อุณหภูมิ 1,050 องศาเซลเซียส ทั้งวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 แต่วิธีที่ 2 เนื้อแก้วไม่สามารถไหลกระจายตัวได้ทั่ว แผ่นทดลอง และการหาจุดเชื่อม หรือผสานของวัสดุแก้วกับเครื่องปั้นดินเผา ด้วยวิธีการเผาค้นหา อัตราส่วนผสม และอุณหภูมิในการเชื่อมต่อผสมผสานวัสดุรูปแบบการหาอัตราส่วนผสม และอุณหภูมิการเชื่อมต่อจากทฤษฏีเส้นตรงที่นําไปใช้ในการสร้างผลงานต้นแบบ เทคนิคการขึ้นรูปแก้ว และการตกแต่งแก้ว คือ เทคนิคที่ 1 การตกแต่งแก้วอุ่น ผลที่ได้พบว่า เทคนิค Glass Fusing, Pate de Verre, Kiln Casting, Glass Slumping สามารถผสมวัสดุทางเครื่องปั้นดินเผาได้และเทคนิคที่ 2 เทคนิคแก้วร้อน ผลที่ได้พบว่า การขึ้นรูปด้วยตะเกียงเป่าแก้ว Lamp Working สามารถเชื่อมต่อกับเนื้อดินที่ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ และสามารถสร้างรูปทรงได้หลากหลายข้ามขีดจํากัดการผสานวัสดุ 2 ชนิด องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก้วผสานเครื่องปั้นดินเผา นําไปสู่แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานต้นแบบทางศิลปะทั้ง 5 ชุด ผ่านรูปแบบปัจเจกลักษณ์ จากการสร้างผลงานรูปลักษณ์พึ่งพิงในงานศิลปะ ทําให้สามารถสร้างจินตภาพสมมุติ ที่พึ่งพิงอาศัยของสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการนําส่วนประกอบเล็ก ๆ ทางธรรมชาติ ดิน เยื่อไม้ หญ้า หินปูน มาทําเป็นโครงสร้างที่อยู่อาศัยที่มีความสลับซับซ้อน เช่น แมลงจําพวกตัวต่อ มด ผึ้ง และปะการังได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยยังสามารถเป็นฐานข้อมูลในการนําไปใช้ประโยชน์กับศูนย์ศิลปาชีพบางไทร และต่อยอดงานวิจัยต่อไป
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subject เครื่องปั้นดินเผา
dc.subject วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.title แก้วผสานเครื่องปั้นดินเผา: รูปลักษณ์พึ่งพิงในงานศิลปะ
dc.title.alternative The amalgamating technique of glass and ceramics: Imagery in art from relaying
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Ceramics Art combine with glass research in concept Imagery in Art from Relying aim to 1) analysis the techniques to create decorative pottery with glass,2) develop technical knowledge of how to decorate pottery with a technical process and innovative combination of materials with different dimensions, and 3) synthesis of knowledge into innovation of the visual arts master from combination of materials that are pottery and glass in the reliance concept Method use in the area of research is how to choose purposive sampling 2 groups: 1) Observation Research group from Center for Arts and Crafts International Bang Sai district in Ayutthaya province and Department of Science Service and 2) Observation Research group in glass blowing, stained glass from Center for Arts and Crafts International Bang Sai district in Ayutthaya province and Crystal Lotus company from Rayong plant. The sample method in this research was selected by purposive sampling from 2 specialists in the manufacture of glass and 3 artists by interview and test. The results showed from the line blend methods that have the good fusion between the glass and pottery by mixing materials in clay techniques. The result was found that the amount of glass from the 50 percent of B glass was tough and difficult to form. From mixing materials technique, there was fused homogeneous glass at 1050 ° C. Both techniques found that the glass has low flow ability, and for finding the bonding point or fusion between the glass and the pottery by combustion searched for mixing ration method as well as bonding temperature of mixing materials, searchingfor mixing ration style and bonding temperature from Line Blend theory which conduct to create the prototype. The glass forming techniques and decoration that were the first technique: Warm glass, the results showed that Glass fusing technique, Pate de verre technique, Kiln casting technique and Glass slumping technique could mix the pottery materials ช as well as the second technique: Hot glass, the results showed forming method by Lamp working could bond the clay with tough to the change of temperature as well as it could be creating with many styles cross over the limit of 2 mixing materials. The knowledge from exploring of the Ceramics Art combining with glass research conduce to the inspiration of 5 art prototypes creation through individual style appearance from the creation of the Imagery in Art from Relying that making it possible to create imaginary assumption of dependent living beings caused by the introduction of small parts, natural ground wood pulp, grass-made structure housing complex, such as insects: wasps, ants, bees and coral as well. Besides, the knowledge from exploring research could be used as database about the conducting of utility for Center for Arts and Crafts International Bang Sai district as well as extending the research for further.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline ทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account