DSpace Repository

ดิจิทัลอาร์ตเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ในผู้บกพร่องทางการได้ยิน

Show simple item record

dc.contributor.advisor อำไพ ตีรณสาร
dc.contributor.advisor เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง
dc.contributor.author ทักษิณา สุขพัทธี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T06:42:28Z
dc.date.available 2023-09-18T06:42:28Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9525
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลคะแนนก่อนและหลังร่วมกิจกรรมดิจิทัลอาร์ตเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ในผู้บกพร่องทางการได้ยิน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ตัวอย่าง คือ กลุ่มนักเรียนผู้บกพร่องทางการได้ยิน จํานวน 9 ราย ไม่มีภาวะพิการซ้ำซ้อน และระดับเดซิเบลอยู่ที่ 26-90 เดซิเบล โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (1) แบบสัมภาษณ์ผู้สอนและผู้บริหาร (2) ชุดกิจกรรมดิจิทัลอาร์ตเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ในผู้บกพร่องทางการได้ยิน จํานวน 8 แผ่น (3) ข้อสอบและเกณฑ์วัดประเมินก่อนและหลังความคิดสร้างสรรค์สําหรับผู้บกพร่องทางการได้ยิน ผลการวิจัยพบว่า ชุดกิจกรรมดิจิทัลอาร์ตเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ในผู้บกพร่องทางการได้ยินที่สร้างขึ้นมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กําหนดในระดับมาก โดยผลการประเมินคุณภาพมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.00 ผู้เรียนมีผลคะแนนด้านความคิดสร้างสรรค์ที่ดีขึ้นจากการที่ก่อนเรียนมีความแตกต่างระหว่าง Pre-test และ Post-test แตกต่างกัน ทั้งในผลรวมและทุกรายกิจกรรม โดย Post-test มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า Pre-test อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ระหว่างเรียนพบว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในบทเรียนสามารถทําแบบทดสอบระหว่างเรียนได้คะแนนเฉลี่ยในภาพรวมอยู่ในระดับสูงขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ความบกพร่องทางการได้ยิน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.title ดิจิทัลอาร์ตเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ในผู้บกพร่องทางการได้ยิน
dc.title.alternative The digitl rt for enhnce cretivity in hering deficiency
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative One of the problems in Thai society is an issue of disparities which comes along with the progress. The strategies of national researches have focused on disadvantaged people such as the developments of the disabled that can support in many aspects namely public health, medical services, profession or education. One of such the developments is holding art activities in forms of mental healing and teaching that focus on the development for the disabled. The art activities could help their minds, create concentration, inspiration, emotional healing and encourage creativity. In case of practicing in an expert level, it can be able to make a living by conducting in line with disabilities such as hearing-impaired, focusing on visual perception and using multimedia to support agility in exposure. However, the instruction with a set of art activities for practicing skills will contribute to understanding skills. This research aimed to present a set of art activities and multimedia used tocreate learning skills in hearing-impaired. The concepts of the study were as follows: Causes and problems of the development of hearing-impaired, The art activities used in hearing-impaired to promote learning skills, Learning behaviors and perceptions of hearing-impaired, Characteristics of a set of art activities used, and Technology Multimedia for education in hearing-impaired.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline ทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account