dc.contributor.advisor |
Ln, Chnglong |
|
dc.contributor.advisor |
ชูศักดิ์ สุวิมลเสถียร |
|
dc.contributor.advisor |
มนัส แก้วบูชา |
|
dc.contributor.author |
แลน, ฉางหลง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-18T06:17:29Z |
|
dc.date.available |
2023-09-18T06:17:29Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9521 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการพื้นที่องค์ความรู้เกี่ยวกับศิลปะจีนที่โดดเด่น ออกแบบแนวทางการจัดการแหล่งเรียนรู้ศิลปะจีนและออกแบบ สื่อความหมายศิลปะและวัฒนธรรมจีนเพื่อการเรียนรู้ในศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ โดยดําเนินการวิจัย ตามแนวคิดและหลักการทั้งการจัดการพื้นที่ การจัดการความรู้การจัดการแหล่งเรียนรู้การจัดการท่องเที่ยวและการสื่อความหมาย ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดการพื้นที่ในศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้ออาจจะได้รับแรงบันดาลใจ จากการจัดวางพื้นที่ในวัดวาอารามของศาสนาพุทธ ซึ่งได้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ พื้นที่โรงเจ อันมีฐานะคล้ายกับเขตสังฆาวาสพื้นที่สัญลักษณ์แห่งสถานที่ประทับขององค์เทพเจ้า อันมีฐานะ คล้ายกับเขตพุทธาวาส และพื้นที่อเนกประสงค์ อันมีฐานะคล้ายกับเขตธรณีสงฆ์ซึ่งพื้นที่แต่ละส่วน ล้วนมีทางเชื่อมต่อกันเพื่ออํานวยความสะดวกกับคนทั่วไป (2) ซุ้มประตูจีนอาจจะไม่ได้รับอิทธิพลจากอินเดียในสมัยโมริยะจากซุ้มประตูโทรณะที่สถูปสาญจี เนื่องจากซุ้มประตูจีนอาจได้พัฒนามาจากประตูเหิงเหมินในสมัยชุนชิวของจีนซึ่งสมัยชุนชิวเร็วกว่าสมัยโมริยะหลายร้อยปี (3) ภาพจิตรกรรม ฝาผนังจีนส่วนใหญ่เป็นภาพบุคคลและได้วาดตามเนื้อหาที่ปรากฏในตํานานจีนโบราณซึ่งมีบทบาทในการถ่ายทอดแนวคิดทางศาสนาและเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้กับคนทั่วไป (4) ช่างเขียนภาพได้ เลียนแบบผลงานของจิตรกรชาวจีนและนําเทคนิคการวาดภาพแบบจีนมาปรับใช้เช่น เทคนิคการวาด แบบสิงหยุนหลิวสุ่ยเหมียว ซึ่งแสดงให้เห็นว่าช่างเขียนภาพมีฝี มือการเขียนภาพที่ได้สืบทอดจากช่าง รุ่นเก่าและมีแนวคิดสร้างสรรค์ในการเขียนภาพเพื่อตอบสนองความต้องการในการสื่อความหมายและ (5) รูปลักษณ์ของรูปเคารพในศาสนาเต๋ามีทั้งแบบจีนและแบบอินเดีย ซึ่งองค์เทพเจ้าบางองค์เดิมเป็นองค์เทพเจ้าในศาสนาพุทธนิกายมหายาน แล้วต่อมาก็เปลี่ยนเป็นองค์เทพเจ้าของศาสนาเต๋า เช่น องค์เต๋าบ้อหง่วงกุงซึ่งแสดงให้เห็นว่า ศาสนาเต๋าและศาสนาพุทธนิกายมหายานมีการแลกเปลี่ยนกันในประวัติศาสตร์จีน แนวทางการจัดการแหล่งเรียนรู้ศิลปะจีนประกอบด้วยการจัดการประชาสัมพันธ์ การกําหนดพื้นที่ท่องเที่ยวและเรียนรู้การจัดเตรียมวิทยากรประจําแหล่ง และการจัดทําข้อมูลเอกสาร และสื่อเรียนรู้ศิลปะจีนซึ่งได้เสนอและออกแบบตามกรอบแนวคิดของการวิจัย |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก |
|
dc.subject |
ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารศิลปะและวัฒนธรรม |
|
dc.title |
ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ (วิหารเทพสถิตพระกิติเฉลิม) : การจัดการแหล่งเรียนรู้ศิลปะจีน ณ จังหวัดชลบุรี |
|
dc.title.alternative |
Monument njstichi shrine: mnging into chinese culturl rts lerning on chon buri province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to study the knowledge of Regional Placing Management and outstanding Chinese Cultural Arts, especially designing the methods for managing into Chinese Cultural Arts Learning Centre. Also, this study attempted to design the interpretation for Chinese culture and arts in order to learning Chinese Cultural Arts in Najasataichi Shrine. This study was based on the concepts and principles of Regional Placing Management, Knowledge Management, Learning Centre Management, Tourism Management, and Attractive Interpretation. Research results : 1) Regional Placing Management in Najasataichi Shrine may be inspired by the layout of Buddhist temples. Najasataichi Shrine is divided into 3 parts. The first part is Vegetarian Canteen, which is similar to the monastery. The second is the area to worship the gods, which is similar to the Buddhist shrine. The third is the multipurpose area, which is similar to the churchyard. Each area of Najasataichi Shrine is connected to facilitate the common people; 2) The Chinese-style Archway may not have been influenced by the Torana archway in Sanchi of India in the Mauryan period, and it may have evolved from the Hengmen gate of spring and Autumn period in Chinabecause the Spring and Autumn period is hundreds of years earlier than the Mauryan period; 3) Most Chinese murals are portraits and painted according to the contents appearing in ancient Chinese mythology. Therefore, they play a role in transmitting the religious concepts and enhancing the morality to the people; 4) The painters imitate the works of Chinese painters and apply the Chinese painting techniques to paint, such as the painting technique of the style of natural and smooth strokes, which shows that the paintershave the skills to paint the murals inherited from the older painters and have the creative ideas in painting the murals to meet the need to transmit; 5) The appearance of the statue of gods in Religion Taoism has both Chinese and Indian style. Some of the gods were originally the Mahayana Buddhism Buddha statue. Later they were transformed into the gods of Religion Taoism, such as Doumu Yuanjun. It shows that Religion Taoism and Mahayana Buddhism have exchanged with each other in Chinese history. The attractive interpretation methods for managing into Chinese Cultural Arts Learning Centre include Public Relations Management, determining the tourist area and learning, preparingthe regular Tour Guide, making learning handbook and media to learn Chinese Cultural Arts, which are designed according to the research concept. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารศิลปะและวัฒนธรรม |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|