DSpace Repository

การสร้างสรรค์ศิลปกรรม : บริโภคนิยมกับวาทกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติ

Show simple item record

dc.contributor.advisor เทพศักดิ์ ทองนพคุณ
dc.contributor.advisor ปิติวรรธน์ สมไทย
dc.contributor.author พัทรา ผดุงสุนทรารักษ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T06:17:17Z
dc.date.available 2023-09-18T06:17:17Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9511
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract เศรษฐกิจทุนนิยมและการพัฒนาด้านเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 20 ได้ผลักดันให้ประชากรโลกส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงเข้าสู่วัฒนธรรมบริโภคนิยมซึ่งเน้นความสะดวกสบาย ความทันสมัย และการบริโภคเกินความจำเป็นในการดำรงชีวิตส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและวิถีชีวิตของมนุษย์โดยตรง จึงเกิดการรณรงค์เพื่อสร้างจิตสำนึกอนุรักษ์ขนานใหญ่ในศตวรรษที่ 21 ทั้งจากองค์กรของรัฐและเอกชน แต่อย่างไรก็ตาม ความเคยชินกับความสะดวกสบายไม่ได้เปลี่ยนแปลงกันอย่างง่ายดาย จึงเกิด พฤติกรรมที่ขัดแย้งกันเอง มีให้เห็นอยู่ทั่วไป การอนุรักษ์ธรรมชาติจึงเป็นเพียงวาทกรรมที่ยังไม่เห็นผลในเชิงรูปธรรม นำประเด็นเหล่านี้มาตีความในการสื่อสารเป็นภาพจำนวน 4 ชิ้น คือ 1. อาหารการกิน 2. ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม 3. สุขภาพและการเยียวยา 4. ยานพาหนะและการเดินทางเพื่อสะท้อนภาพทางสังคมและกระตุ้นเตือนผู้บริโภคให้ตระหนักและถึงเวลาที่ควรปฏิบัติกันอย่างจริงจัง
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subject ศิลปกรรม -- นิทรรศการ
dc.subject ศิลปกรรม
dc.title การสร้างสรรค์ศิลปกรรม : บริโภคนิยมกับวาทกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติ
dc.title.alternative The cretion consumerism nd preservtion discourse
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Capitalism and technological development in the 20th century have pushed the majority of the world's population into Consumerism culture that emphasizes convenience, modernity and over-consumption. Affect the ecosystem and the way people live. There is a campaign to raise awareness in the 21st century, both from public and private organizations. However Convenience does not change easily. The conflicting behavior are visible Nature conservation is just a discourse that does not see concrete results. These issues are discussed in four visual communications: 1. Food, 2. Housing and Environment, 3. Health and healing, 4. Vehicles and travel to reflect the social image and encourage consumers to be aware, and timing of seriously practice.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline ทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.name ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account