dc.contributor.author |
ภูริชญา วีระศิริรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
อรชร บุญลา |
|
dc.contributor.author |
พิมลพรรณ ทวีการ วรรณจักร |
|
dc.contributor.author |
สราวุฒิ สิริเกษมสุข |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-08-18T08:54:40Z |
|
dc.date.available |
2023-08-18T08:54:40Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9298 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จาก (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 |
th_TH |
dc.description.abstract |
การฝึกเดินโดยใช้ไม้ค้ำยันรักแร้พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บรยางค์ส่วนล่าง เพื่อลดการลงน้ำหนักของขาข้างที่มีพยาธิสภาพ การฝึกเดินโดยใช้ไม้ค้ำยันรักแร้แบบมาตรฐานทำให้เกิดความไม่สะดวกสบายในการใช้งาน และปรับระดับความสูงยาก การออกแบบไม้ค้ำยันรักแร้แบบประยุกต์จึงเป็นทางเลือกหนึ่งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเดิน วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้ไม้ค้ำยันรักแร้แบบมาตรฐาน และประยุกต์ ในอาสาสมัครสุขภาพดี จำนวน 46 คน อายุระหว่าง 18-22 ปี อาสาสมัครทุกคนได้ฝึกเดินด้วยไม้ค้ำยันทั้งสองแบบ ผู้ประเมินวัดค่าเฉลี่ยอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก ค่าเฉลี่ยอัตราการเต้นของหัวใจขณะเดิน และความเร็วเฉลี่ยในการเดินเพื่อคำนวณค่าพลังงานที่สูญเสียขณะเดิน และประเมินระดับความพึงพอใจ ผลจากการศึกษาพบว่า การฝึกเดินโดยใช้ไม้ค้ำยันรักแร้แบบประยุกต์มีอัตราการเต้นของหัวใจขณะเดินและพลังงานที่สูญเสียขณะเดินน้อยกว่าแบบมาตรฐานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) นอกจากนี้ การฝึกเดินโดยใช้ไม้ค้ำยันรักแร้แบบประยุกต์มีระดับความพึงพอใจในการใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุดทั้ง 5 หัวข้อ สรุปได้ว่าไม้ค้ำยันรักแร้แบบประยุกต์ช่วยลดพลังงานที่สูญเสียขณะเดิน ปรับระดับความสูงได้ง่าย พกพาและสะดวกต่อการใช้งานจากการออกแบบที่เหมาะสม มีความมั่นคงปลอดภัย และสามารถเปลี่ยนจากท่ายืนเป็นนั่งและนั่งเป็นยืนได้ง่าย จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ใช้สำหรับการฝึกเดินต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ไม้ค้ำยัน |
th_TH |
dc.subject |
อุปกรณ์ช่วยเดิน - - การออกแบบ |
th_TH |
dc.subject |
เวชภัณฑ์ |
th_TH |
dc.title |
การผลิตไม้ค้ำยันรักแร้แบบประยุกต์ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Design of the modified axillary crutches |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2561 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Ambulation with axillary crutches is often prescribed to reduce weight bearing after lower limb injury. The standard axillary crutches was known to cause general discomfort to the user and difficult to adjustable height. The modified axillary crutches was designed to improve assistive device gait efficiency. The purpose of this study was to compare effects of standard and modified axillary crutches. Forty six subjects, aged from 18 to 22 years, participated in the study. The subjects were received into standard and modified axillary crutches. Assessor evaluated outcome measures resting heart rate at the baseline, mean heart rate and mean gait velocity during assisted gait including a questionnaire were used to assess subject’s satisfaction of product. The results showed that the subjects who received the modified axillary crutches significantly greater improvement of resting heart rate and energy expenditure index during assisted gait (p<0.05). In addition, ambulation with modified axillary crutches was highly satisfied in five items. In conclusion, the modified axillary crutches can reduce energy expenditure index during walking, easy to the height adjustment, comfort, safety, stability and changes from sitting to standing easily. Therefore, this model can be an alternate choice to assistive device gait. |
en |