dc.contributor.author |
ประวิทย์ บุญมี |
|
dc.contributor.author |
ประจักษ์ จิตเงินมะดัน |
|
dc.contributor.author |
ทัศนีย์ เจริญพร |
|
dc.contributor.author |
กรสหนันท์ ต่อพงษ์พันธุ์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-07-03T04:06:11Z |
|
dc.date.available |
2023-07-03T04:06:11Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9263 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทเงินรายได้ คณะวิทยาการสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการทิ้ง คัดแยก แปรรูป และกำจัดขยะพลาสติกในเขตพื้นที่ชายหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาระบบสารสนเทศที่จูงใจในการคัดแยกและทิ้งขยะลงในถังขยะที่ถูกต้อง ซึ่งการศึกษานี้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการ Design Thinking ที่มีการดำเนินการ 5 ขั้นตอน คือ Empathize, Define, Ideate, Prototype, และ Test และในกระบวนการศึกษานี้ ได้มีการเติมเต็มความรู้และประสบการณ์ให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการในเขตเทศบาลเมืองแสนสุขด้วยการสาธิตวิธีการแปรรูปขยะพลาสติกด้วยเทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงได้ด้วยงบประมาณที่ไม่มากนัก เหมาะแก่การทำงานของชุมชนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนเองที่ทำมาจากขยะพลาสติกอีกด้วย กิจกรรมในโครงการวิจัยจากทุนวิจัยเพื่อส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนและสังคมนี้ มี 3 กิจกรรม คือ การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ฮีโร่บางแสนกำจัดพลาสติก (Bangsaen Plastic Waste Eliminating Hero) ครั้งที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ฮีโร่บางแสนกำจัดพลาสติก (Bangsaen Plastic Waste Eliminating Hero) ครั้งที่ 2 และการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสะสมคะแนนจากการทิ้งขยะ
ผลลัพธ์จากการวิจัยพบว่า ชุมชนให้ความสนใจในการคัดแยกขยะและทิ้งขยะให้ถูกที่ ด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว แต่ยังมีประชาชนบางส่วนที่ต้องการการกระตุ้น และระบบสารสนเทศเพื่อการสะสมคะแนนในรูปแบบของแอปพลิเคชันที่เข้าถึงง่ายและตรวจสอบข้อมูลของตนเองได้ จึงเป็นแรงจูงใจในการแยกขยะพลาสติกอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นยังพบว่า การสาธิตวิธีการแปรรูปขยะพลาสติกที่สามารถทำได้ง่ายและนำมาใช้ประโยชน์ได้ ก็เป็นหนึ่งแรงจูงใจที่มีความสำคัญยิ่ง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การกำจัดขยะ |
th_TH |
dc.subject |
การกำจัดของเสีย |
th_TH |
dc.title |
โครงการฮีโร่บางแสนกำจัดพลาสติก |
th_TH |
dc.title.alternative |
Bangsaen plastic waste eliminating hero |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
prawit@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
prajaks@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
thatsanee@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
pichaungkhun@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2564 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This work aimed to study how the people in the Saensook Municipality manage their solid waste. This waste can be separated and recycled. We aimed to collect the important factors affected the people’s habit of waste separation. This information will be then transferred into user requirements and it will be used to design and develop an application accordingly. In the design process, the Design Thinking process is implemented. Furthermore, this work is divided into 3 activities including 1) a practical workshop on plastics and their types, 2) a practical workshop on transform plastic waste into products with creativity, and 3) design and development of a mobile application based on collected user requirements.
We found out that a good waste management system encourages the people to separate the solid waste. Along with a good rewarding application, the people seem to agree to use the system easier. The can be a concept of waste management for a municipality. |
th_TH |