dc.contributor.advisor |
ทิพย์เกสร บุญอำไพ |
|
dc.contributor.advisor |
พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ |
|
dc.contributor.author |
จิรศักดิ์ ประทุมรัตน์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T09:02:45Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T09:02:45Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9223 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 |
|
dc.description.abstract |
การพัฒนาระบบการจัดการศูนย์การเรียนชุมชนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสมุทรปราการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อพัฒนาระบบการจัดการศูนย์การเรียนชุมชน ในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัย ได้แก่ ผู้ดำเนินงานในศูนย์การเรียนชุมชน เพื่อให้ข้อมูลสภาพปัจจุบันและความต้องการระบบการจัดการศูนย์การเรียนชุมชน จำนวน 19 คน ผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้ข้อมูลในการพัฒนาระบบการจัดการศูนย์การเรียนชุมชนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้การสนทนากลุ่ม จำนวน 9 คน และผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อรับรองต้นแบบระบบการจัดการศูนย์การเรียนชุมชน จำนวน 5 คน วิธีการและเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เอกสาร แบบสำรวจ สภาพปัจจุบันและความต้องการระบบการจัดการศูนย์การเรียนชุมชน แบบประเมินจากการสนทนากลุ่ม และการประเมินเพื่อตรวจสอบรับรองต้นแบบระบบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพโดยการวิเคราะห์แบบอุปนัย ข้อมูลเชิงปริมาณนำเสนอด้วยความถี่และร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า 1. ระบบการจัดการศูนย์การเรียนชุมชนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสมุทรปราการ ประกอบด้วย ปัจจัยนำเข้า ได้แก่ เนื้อหาความรู้ การให้บริการ บุคลากร งบประมาณอาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยี เครือข่ายความร่วมมือ และปัจจัย/ สิ่งสนับสนุน มีกระบวนการจัดการอย่างเป็นระบบด้วย CLCM-APOSCARE ซึ่งประกอบด้วย การวิเคราะห์บริบท การวางแผน การจัดองค์กร การจัดบุคลากร การประสานความร่วมมือ การจัดสรรทรัพยากร การรายงานและการประเมินผล 2. ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินและรับรองระบบการจัดการศูนย์การเรียนชุมชนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสมุทรปราการ ให้มีความเหมาะสมในระดับมาก (X ̅ = 4.46) |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา |
|
dc.subject |
ศูนย์การเรียนชุมชน |
|
dc.title |
การพัฒนาระบบการจัดการศูนย์การเรียนชุมชนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสมุทรปราการ |
|
dc.title.alternative |
Development of community lerning center mngement systems for locl dministrtion orgniztions in smuthprkrn province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This study aimed to propose the development of a community learning center management systems for local administration organizations in Samuthprakarn province. This research was a research and development. The research sample consisted of staff members at a community learning center who provided information on current conditions where they work regarding the need for the management system. The focus-group technique was employed by nine specialists in supervisory-system management. Five qualified raters also examined and approved the development of a community-learning-center-management system for local administrative organizations. The research tool used for data collection was document analysis, and focus-group technique. The evaluation were done quantitatively, verified by using inferential analysis. Quantitative data were presented in terms of frequency, percentage, mean, and standard deviation. The study results were as follows; 1. A community learning-center-management system for local administrative organizations in Samutprakan province consists of input factors including content, knowledge, service, personnel, budget, premises, materials, equipment, media, technology, cooperative networks, and factors/ support. The process-management system with CLCM-APOSCARE. It involved: 1) A-Analysis 2) P-Planning 3) O-Organizing 4) S-Staffing 5) C-Coordinating 6) A-Allocating 7) R-Reporting and 8) E-Evaluating elements. 2. The experts validated that the community learning center management system is operational possible a high level of suitability (X ̅ = 4.46). |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
เทคโนโลยีการศึกษา |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|