DSpace Repository

ระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพสำหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ทิพย์เกสร บุญอำไพ
dc.contributor.advisor นคร ละลอกน้ำ
dc.contributor.author ภัทรดร จั้นวันดี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-06T09:02:44Z
dc.date.available 2023-06-06T09:02:44Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9222
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ สำหรับนักศึกษาครูสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน มีวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้ 1) ศึกษาองค์ประกอบของระบบระบบการสอนแบบร่วมมือ ภควันตภาพ ฯ 2) ทดสอบประสิทธิภาพชุดการสอนตามระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ ฯ ตามเกณฑ์ โดยใช้เกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/ 80 3) เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาครูที่เรียนด้วยชุดการสอนตามระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ ฯ 4) ศึกษา ความพึงพอใจของนักศึกษาครูที่มีต่อการเรียนจากชุดการสอนที่พัฒนาตามระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ ฯ 5) ประเมินรับรองระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ ฯ จากผู้ทรงคุณวุฒิ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและด้านหลักสูตรการสอนและวัดผลประเมินผล จำนวน 10 คน 2) นักศึกษาครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร จำนวน 40 คน การได้มาของกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) 3) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินรับรองระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดการสอนที่พัฒนาตามระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ ฯ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจ 4) แบบประเมินทักษะการทำโครงงาน 5) แบบประเมินรับรองระบบการสอนจากผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน E1/ E2 t-test (Dependent samples) ผลจากการวิจัย พบว่า 1. ระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ ฯ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 1) การวิเคราะห์บริบท 2) การกำหนดปัจจัยนำเข้า 3) กระบวนการจัดการเรียนการสอน 4) ผลการประเมิน และ 5) การตรวจสอบและปรับปรุงระบบ 2. ผลการทดสอบประสิทธิภาพชุดการสอนที่พัฒนาตามระบบการสอนแบบร่วมมือ ภควันตภาพ มีค่าประสิทธิภาพตามลาดับ ดังนี้ หน่วยการเรียนที่ 1 เท่ากับ 79.63/ 80.37 หน่วยการเรียนที่ 2 เท่ากับ 79.26/ 80.37 หน่วยการเรียนที่ 3 เท่ากับ 80.74/ 81.48 และ หน่วยการเรียนที่ 4 เท่ากับ 79.63/ 81.90 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/ 80 3. ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการสอนตามการออกแบบของระบบการสอนมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 4. นักศึกษาครูมีความพึงพอใจต่อระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด 5. ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินรับรองระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ระบบการเรียนการสอน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
dc.subject นักศึกษาครู
dc.title ระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพสำหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
dc.title.alternative A ubiquitous coopertive instructionl system for students techersin the deprtment of computer eduction fculty of eduction upper northestern rjbht university
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The main purpose was to develop a ubiquitous cooperative instructional system for student teachers in the departments of computer education, faculties of education in the upper-northeastern Rajabhat Universities. The specific objectives were; 1) to study the components of the ubiquitous cooperative instructional system, 2) to validate the efficiency of the instructional packages on ubiquitous cooperative instructional system, 3) to compare the scores before and after the student teachers learning by using the teaching packages based on the ubiquitous cooperative instructional system 4) to study students’ satisfaction towards the instructional system, and 5) to assess and certify the instructional system by educational experts. This study was a research and development study. The samples in the study comprised of; 1) 10 experts in educational technology and information technology and instructional design specialists, 2) 40 student teachers from the Faculty of Education, Sakon Nakhon Rajabhat University who were obtained by purposive sampling, and 3) five educational experts in assessment and verification of the instructional system. The research instruments were; 1) the instructional packages on ubiquitous cooperative instructional system, 2) an achievement test, 3) students’ satisfaction questionnaire, 4) the project skills assessment form, and 5) the form for assessment and verification by the educational experts. The data were analyzed by using Percentage, Means, Standard Deviation, E1/ E2 and t-test (Dependent samples). The research findings are as follows; 1. The ubiquitous cooperative instructional system for student teachers in the departments of computer education, faculties of education in the upper-northeastern Rajabhat Universities consisted of five components: 1) Contextual Analysis, 2) Input Factors Analysis, 3) Learning Process, 4) Result, and 5) Improvement. 2. The efficiency validation of the instructional packages on ubiquitous cooperative instructional system was that the values of E1/ E2 of set learning unit 1 to 4 were; 79.63/ 80.37, 79.26/ 80.37, 80.74/ 81.48, 79.63/ 81.90, respectively. 3. The post-test score was higher than the pre-test score at the significance level of .01. 4. The students’ satisfaction towards the instructional system was at high level. 5. The assessment and verification of the instructional system by the educational experts were found to be highly appropriate.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline เทคโนโลยีการศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account