DSpace Repository

องค์ประกอบเชิงประจักษ์พฤติกรรมผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธร สุนทรายุทธ
dc.contributor.advisor พงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.author สิริลักข์ ชัยมังคลาภรณ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-06T09:02:21Z
dc.date.available 2023-06-06T09:02:21Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9167
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบพฤติกรรมผู้บริหารสถานศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นงานวิจัยคุณภาพ โดยใช้เทคนิคการวิจัยอนาคต (EDFR) และเทคนิควิธีการพหุลักษณะเพื่อหาฉันทามติ MACR และวิเคราะห์ความสอดคล้องของข้อมูลด้วย The Kruskal Wallis One-way analysis of variance by Ranks ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1. การวิจัยนี้ใช้เทคนิควิจัย EDFR โดยสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ (EDF) จำนวน 5 คน สร้างเป็นแบบสอบถามเชิงตัวอย่างไปสอบถามผู้เชี่ยวชาญเพื่อยืนยัน จำนวน 3 รอบ (Delphi) พิจารณาจาก ค่ามัธยฐาน (Mdn) และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ (IQR) เพื่อวิเคราะห์ความถูกต้องเหมาะสมของบบสอบถามและความสอดคล้องความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ 2. การทดสอบองค์ประกอบเชิงประจักษ์พฤติกรรมผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 30 คน ผลการทดสอบ ว่า มีความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน และความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.965 3. ผลการยืนยันองค์ประกอบเชิงประจักษ์พฤติกรรมผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยผู้เชี่ยวชาญแบ่งประเภท 3 กลุ่ม จำนวน 17 คน ทดสอบความสอดคล้องของข้อมูลด้วยเทคนิควิธีการพหุลักษณะเพื่อหาฉันทามติ (MACR)โดยใช้สถิติ The Kruskal Wallis One-way analysisof variance by Ranks ซึ่งวัดระดับนัยสำคัญทางสถิติด้วยค่าไคสแควร์ ( 2) ค่า P-value  .05 พบว่า ทุกข้อแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติดังนี้ 1) การสร้างพลังอำนาจให้ทีม 2)การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 3) การกำหนดทิศทางในการทำงาน 4) การร่วมคิดร่วมทำ 5) การรู้รอบและรอบรู้ 6) ความมุ่งมั่นต่อความสำเร็จ 7) การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ 8) รู้เขา 9) การมีเทคนิคในการจูงใจ 10) ความรับผิดชอบต่อสังคม 11) รู้เราและ 12) การเป็นนักประชาธิปไตย
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ผู้บริหารสถานศึกษา -- พฤติกรรม
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject การปกครองท้องถิ่น -- การบริหาร
dc.title องค์ประกอบเชิงประจักษ์พฤติกรรมผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
dc.title.alternative The empiricl fctors of principlship ffecting work efficiency of locl dministrtive orgniztion
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This study aimed to examine the factors of principalship those affected work efficiency of local administrative organization. Ethnographic Delphi future research (EDFR) and Multi attribute consensus reaching (MACR) by The Kruskal Wallis One-Way analysis of variance by Ranks were applied for the research. The research resaults found that: 1. This research used EDFR technique by interviewing 5 experts in three rounds (Delphi), then analyzed the data based on median (Mdn) and inter quartile range (IQR) to analyze appropriateness of the questionnaire and the consistency of expert opinions. 2. The empirical factors of principalship affecting work efficiency of local administrative organization validated by 30 experts to obtain corresponding opinion. The reliability of the whole questionnaire by using Cronbach's alpha coefficient were 0.965. 3. The confirmation of the empirical factors of principalship affecting work efficiency of local administrative organization by 17 experts were categorized into three groups. Testing the data consistency with the Kruskal Wallis One-Way analysis of variance by Ranks. All items were statistically different with Chi-square P-value  .05. It was found that: The factors were 1) Empowering a team, 2) Being efficient in management, 3) Defining work directions, 4) Sharing in thinking and doing, 5) Being well-rounded and knowledgeable, 6) Committing to success, 7) Being creative, 8) Knowing others, 9) Having techniques for motivation, 10) Being socially responsible, 11) Knowing ourselves and 12) Being a democratic.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account