dc.contributor.advisor |
นันทพร ภัทรพุทธ |
|
dc.contributor.advisor |
ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์ |
|
dc.contributor.author |
นันทฉัตร ระฮุง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T04:25:33Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T04:25:33Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8817 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพต่อการเกิดมะเร็งกับพฤติกรรมการป้องกันตนเอง จำนวน 400 คน ในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพริมถนน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากผลการศึกษาวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 52.8 อายุเฉลี่ย 46.4 ปี โดยมีชั่วโมงการทำงานเฉลี่ย 7.8 ชั่วโมง/วัน ประสบการณ์ในการทำงานเฉลี่ย 5.7 ปี ส่วนใหญ่ไม่มีโรคประจำตัว ร้อยละ 70.5 ไม่มีประวัติกรรมพันธุ์เจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งร้อยละ 92.0 ไม่เคยสูบบุหรี่เลยร้อยละ 91.5 และไม่เคยดื่มสุราร้อยละ 85.7 ความเชื่อด้านสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับสูง โดยระดับการรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรง และการรับรู้ประโยชน์อยู่ในระดับสูง ส่วนการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันการเกิดมะเร็งอยู่ในระดับปานกลาง และพฤติกรรมการป้องกันตนเองต่อการเกิดมะเร็งอยู่ในระดับสูงผลการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันตนเองพบว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (p<0.001) โดยพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันการเกิดมะเร็งกับพฤติกรรมการป้องกันตนเองมีความสัมพันธ์กันอย่างมีสถิติที่ระดับ (p<0.001) ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรมีการรณรงค์ให้มีการดูแลสุขภาพเชิงรุก เช่น รณรงค์สื่อสารอันตรายจากการรับสัมผัสสารก่อมะเร็ง แนะนำวิธีการป้องกันอันตรายจากสารก่อมะเร็ง จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันสารเคมีส่วนบุคคลแก่กลุ่มผู้ประกอบการอาชีพ และแนะนำการใช้อุปกรณ์ที่ถูกชนิดถูกวิธี รวมทั้งควรจัดให้มีการบริการด้านสุขภาพที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว เป็นต้น |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
สารก่อมะเร็ง |
|
dc.subject |
มะเร็ง -- การป้องกันและควบคุม |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย |
|
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพต่อการเกิดมะเร็งกับพฤติกรรมการป้องกันตนเองของผู้ประกอบอาชีพริมถนนที่ทำงานรอบโรงกลั่นน้ำมัน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี |
|
dc.title.alternative |
Assocition of helth belief to crcinogenesis nd self-protection behviors mong rodside occuptions in the vicinity of oil refineries, srirch district, chonburi province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research was to study the association of health beliefs to carcinogenesis and self-protection behaviors in 400 roadside occupations working around the oil refinery in Sriracha district, Chonburi. The research instruments questionnaire. Results revealed that overall, Most of the study subjects were female (52.8%), their mean age was 46.4 years; with an average working time per day of 7.8 hours; most experience of them were between 5-7 years. Most that do not have congenital disease (70.5%), No history of hereditaty illness with cancer (92.0%) and do not smoke (91.5%) and do not drink alcohol (85.7%). The health belief was at a high level. The perceived susceptibility perceived severity and perceived in benefits were also at a high level, while the perceived in barriers was at a moderate level and self-protection behavior was at a high level. The perceived susceptibility, perceived severity and perceived in benefits were also at a high level while the perceived in barriers was at a moderate level self-protection behavior was at a high level. The correlation of health beliefs and self-protection behabviors were statistically significant (p<0.001). The relationship of self protection behaviors and susceptibility, severity, benefits and barriers perception were significant (p<0.001). Therefore, refore, relevant agencies should campaign for aggressive health care such as communication of the dangers of exposure to carcinogens providing personal protective equipment for roadside occupations, as well as and settingeasily accessible health services. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|