DSpace Repository

คุณภาพชีวิตในการทำงานของเจ้าหน้าที่พลศึกษาจังหวัดระยอง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ลือชัย วงษ์ทอง
dc.contributor.author อิทธิพัทธ์ สิทธิสุพร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned 2023-06-06T04:21:13Z
dc.date.available 2023-06-06T04:21:13Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8777
dc.description งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงานของเจ้าหน้าที่พลศึกษาจังหวัดระยองผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key informants) คือ เจ้าหน้าที่พลศึกษาจังหวัดระยองทั้ง 8 อำเภอ จำนวน 8 คน เก็บรวบรวมข้อมูลคือการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (In-depth interview) และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงานของเจ้าหน้าที่พลศึกษาจังหวัดระยอง พบว่า 1) ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมไม่เหมาะสม เนื่องจากค่าเดินทางในการออกไปทำกิจกรรม ยังพื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบต้องออกค่าเดินทางเองค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันที่ต้องนำไปใช้จ่ายในการดูแลครอบครัวและจากปัญหาภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในปัจจุบันทำให้ไม่มีความเหมาะสมไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิต 2) ด้านสิ่งแวดล้อมที่ถูกลักษณะและปลอดภัยเจ้าหน้าที่พลศึกษามีความพึงพอใจกับสภาพการทำงานที่ตนเองทำ 3) ด้านการเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้พัฒนาความรู้ ความสามารถได้เป็นอย่างดีผู้บังคับบัญชามีการเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่พลศึกษาใช้ความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่ 4) ด้านลักษณะงานที่ส่งเสริมความเจริญเติบโตและความมั่นคงให้แก่ ผู้ปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่พลศึกษาไม่สามารถปรับเปลี่ยนเลื่อนตำแหน่งได้ 5) ด้านลักษณะงานที่มีส่วนส่งเสริมด้านบูรณาการทางสังคมของผู้ปฏิบัติงานหน่วยงานได้มีการจัดกิจกรรมการส่งเสริมต่าง ๆ 6) ด้านลักษณะงานตั้งอยู่บนพื้นฐานของระเบียบและกระบวนการทำงานของราชการหน่วยงานได้มีการประเมินการปฏิบัติงานตามระเบียบแบบแผนที่กำหนดไว้ตามกรอบการประเมิน 7) ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานโดยมีส่วนร่วมด้านความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานโดยมีส่วนร่วม 8) ด้านลักษณะงานมีส่วนเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสังคมโดยตรงการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พลศึกษานั้นมีความสัมพันธ์กับชุมชน 9) ด้านสวัสดิการและผลประโยชน์อื่น ๆ เจ้าหน้าที่พลศึกษาไม่มีความพึงพอใจในด้านสวัสดิการและผลประโยชน์อื่น ๆ ที่ได้รับเพราะว่าเจ้าหน้าที่พลศึกษาไม่ได้รับสวัสดิการอะไรเลยแม้แต่สวัสดิการและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพก็ไม่มี เป็นต้น
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject คุณภาพชีวิตการทำงาน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
dc.subject บุคลากรทางการกีฬา
dc.title คุณภาพชีวิตในการทำงานของเจ้าหน้าที่พลศึกษาจังหวัดระยอง
dc.title.alternative Qulity of work lige mong officers for physicl eduction in Ryong province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to examine quality of work life among officers responsible for physical education. The main informants participating in this studycomprised 8 officers who came from eight different districts. An in-depth interview technique was used to collect the data. Also, a content analysis technique was employed to analyze the collected data. The results of the study were as follows: First, it was shown that the aspect of quality of work life in relation to compensation was found inappropriate. This was due to the fact that these officers not only had to cover all the expenses for their families on a daily basis, but also paid for their travelling costs when they went outside for field activities. Also, regarding work environment, the subjects were satisfied with their work conditions. In addition, the subjects were given opportunities for self-development and using their knowledge and full potentiality to complete their work. Fourth, it was found that these officers were not allowed to alter their work positions. Also, the results showed that the organizations for which these subjects worked always organized activities that promoted social interaction and integration. Considering performance appraisal, there was an evaluation that was conducted based on the set rules and regulations. In addition, the subjects found that there was a balance between their work and life. In working, these officers had a direct interaction with people in the community. Finally, it was shown that the subjects were not satisfied with fringe benefits and other advantages. This was due to the fact that these officers had never been offered any fringe benefits, nor had they been given any welfare or provident fund.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารทรัพยากรมนุษย์
dc.degree.name รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account