dc.contributor.author |
ชลี ไพบูลย์กิจกุล |
th |
dc.contributor.author |
เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล |
th |
dc.contributor.author |
บัญชา นิลเกิด |
th |
dc.contributor.author |
มลฤดี สนธิ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:54:47Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:54:47Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/859 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของชนิดอาหาร วัสดุรองพื้น และปริมาณสารอินทรีย์ต่อการลงเกาะของหอยหวาน Babylonia areolata Link, 1807 ผลของการศึกษาชนิดอาหารต่อการลงเกาะของตัวอ่อนหอยหวานพบว่า ตัวอ่อนหอยหวานที่ได้รับกุ้งเป็นอาหารจะมีเปอร์เซ็นต์การพัฒนาจนถึงระยะเกาะลงพื้นสูงสุดและแตกต่างกับชุดทดลองอื่นอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ในขณะที่ตัวอ่อนหอยหวานได้รับหอยแมลงภู่เป็นอาหารมีเปอร์เซ็นต์การพัฒนาจนถึงระยะเกาะลงพื้นรองลงมาแต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (P>0.05) กับตัวอ่อนหอยหวานที่ได้รับปลาข้างเหลืองและปลาหมึกเป็นอาหาร
ผลการศึกษาวัสดุรองพื้นต่อการลงเกาะของตัวอ่อนหอยหวาน พบว่าชุดทดลองที่รองพื้นด้วยทรายหยาบจะทำให้อัตราการลงเกาะของลูกหอยหวานสูงที่สุดและแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) กับชุดทดลองที่รองพื้นด้วยเชือกพลาสติก ทรายละเอียดและเปลือกหอยนางรมชิ้นเล็ก
ผลการศึกษาปริมาณสารอินทรีย์ต่อการลงเกาะของหอยหวานพบว่าปริมาณอินทรีย์วัตถุในวัตถุรองพื้นมีผลต่อการลงเกาะของตัวอ่อนหอยหวานแตกต่างกัน ปริมาณสารอินทรีย์ 20-25 เปอร์เซ็นต์ในวัสถุรองพื้นช่วยให้ตัวอ่อนมีพัฒนาการลงเกาะพื้นได้มากที่สุด อย่างไรก็ตามปริมาณอินทรีย์วัตถุในวัตถุรองพื้นมากจะมีผลยับยั้งการลงเกาะของตัวอ่อนหอยหวานด้วย ผลการทดลองนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการอนุบาลลูกหอยหวานเชิงพาณิชย์ได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2552 คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี |
th_TH |
dc.subject |
หอยหวาน - - อาหาร |
th_TH |
dc.subject |
หอยหวาน - - การเจริญเติบโต |
th_TH |
dc.subject |
หอยหวาน - - การเลี้ยง |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาเทคนิคการเพิ่มอัตราการลงเกาะของหอยหวาน Babylonia areolata |
th_TH |
dc.title.alternative |
Study of increasing settlement rate techniques in babylon snail babylonia areolata |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2553 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this study were evaluated effect of feeding type, substrate and organic content on settlement of Babylonia areolata Link, 1807 larvae.
Result of the study of effect of feeding type on larval settlement of babylon snail showed that larvae fed shrimp had the gighest settlement rate and had significantly difference (P<0.05) with other. Larvae fed mussel was the next of settlement rate but the settlement rate were not significantly difference (P>0.05) with larvae that fed fish and squid.
The sequent of effect of substrate on settlement rate of babylon snail larvae demonstrated that the experimental unit covered with gravid had the greatest of settlement rate and had significantly difference (P<0.05) with the other substrate materials, plastic rope, sand and small piecess of oyster shell.
Consequence of the last experiment, the effect of organic content on settlement rate of babylon snail larvae illustrated that organic content in substrate had effect on settlement rate of babylon snail larvae. Twenty to twenty five percentage of organic content in substrate could activate the larvae to more developed to adult form. Nevertheless, a lot of organic content in substrate had suppress the settlement rate of the larvae. The outcome of this study can apply to culture of babylon snail larvae in commercial. |
en |