dc.contributor.advisor |
สกฤติ อิสริยานนท์ |
|
dc.contributor.author |
พลวัต คงทอง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T04:00:56Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T04:00:56Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8592 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการ การก่อรูปของธุรกิจการขยายตัวของเศรษฐกิจชุมชน และการล้มสลายของเศรษฐกิจชุมชน ในธุรกิจพลอยจันทบุรี วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยอาศัยข้อมูลจากเอกสาร และการสัมภาษณ์แบบประวัติศาสตร์จากคําบอกเล่า ผลการศึกษาพบว่า พัฒนาการและการล้มสลายของธุรกิจพลอยจังหวัดจันทบุรี ในช่วงการก่อรูปของธุรกิจ เป็นการทําธุรกิจในครัวเรือนหรือเครือญาติ เน้นการค้าขายพลอยก่อน ต่อมา เมื่อชาวจันทบุรีรู้จักวิธีการเจียระไนพลอยจึงพัฒนาไปเป็นการค้าขายพลอยเจียระไนแล้ว เมื่อธุรกิจ พลอยเริ่มเป็นที่รู้จักจึงเริ่มเข้าสู่ช่วงการขยายตัวของเศรษฐกิจชุมชน มีการขุดพลอยมากขึ้น ค้นพบวิธีการปรับปรุงคุณภาพพลอยให้มีความสวยงาม ประกอบกับความสามารถในการเจียระไนพลอยของชาวจันทบุรีที่มีชื่อเสียงด้านความประณีตสวยงานจนเป็นที่ต้องการของต่างประเทศ เกิดการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมจากภาครัฐ สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจการค้าพลอยในจันทบุรีแบบก้าวกระโดด ธุรกิจพลอยกลายเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีการลงทุนทางด้านการเงิน เทคโนโลยี และบุคลากร ซึ่งจากการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ทําให้ปริมาณพลอยที่มีอยู่ตามธรรมชาติลดน้อยลง ผู้ประกอบธุรกิจต้องนําเข้าพลอยก่อนจากต่างประเทศ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก และการกีดกันทางการค้าที่เกิดจากการค้าขายพลอยปลอมของผู้ประกอบธุรกิจพลอยบางกลุ่มส่งผลให้การค้าขายพลอยหยุดชะงัก ผู้ประกอบธุรกิจขนาดเล็กหรือขนาดกลางไม่สามารถดําเนินธุรกิจต่อไปได้เนื่องจากขาดเงินทุนในการหมุนเวียน ก่อให้เกิดการล้มสลายของเศรษฐกิจชุมชนการค้าขายพลอยจันทบุรี เหลือเพียงผู้ประกอบธุรกิจรายใหญ่ที่สามารถดํารงอยู่ได้ท่ามกลางสภาพปัญหาและวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
เศรษฐกิจถดถอย |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ |
|
dc.subject |
เศรษฐกิจชุมชน |
|
dc.title |
พัฒนาการและการล่มสลายของเศรษฐกิจชุมชน : กรณีศึกษาธุรกิจพลอยจันทบุรี |
|
dc.title.alternative |
Development nd collpse of economic community : the cse study of jewelry business in chnthburi province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The objective of this research is to study Development of Business Formation, Economic Community Expansion and Collapse of Economic Community of jewelry in Chanthaburi. This thesis is qualitative study based on the data from documentation and interview of historical narration. The study result found that the development and collapse of jewelry business in Chanthaburi on the business formation period is household or family business which mostly focuses on raw gem trading. Afterwards, people in Chanthaburi learnt about raw gem cutting and polishing method that developed to trading of polished gem. When jewelry business is well-known, it began to economic community expansion period that caused increasing of raw gem digging, discovery of quality improvement method to make beautiful gem combining with the gem polishing capability of people in Chanthaburi which was famous in term of exquisiteness, therefore, it was demanded in overseas countries. Thereafter, industrial development was supported by government that made drastic growth of economic in jewelry trading. Jewelry business became a big industry. There were financial, technology and human resourcing investment by the reason of drastic growth of this economic caused decreasing of raw gem quantity in nature. Thus, entrepreneurs needed to import overseas raw gem that made increasing of production cost along with global economic downturn and economic deprivation which was the cause of artificial jewelry trading by some entrepreneurs affected the halt of jewelry trading. Small or medium enterprises could not continue their business due to lacking of circulative capital leaded to collapse of economic community of jewelry in Chanthaburi. There was only a large enterprise remaining which could survive among economic crisis |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
เศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ |
|
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|