dc.contributor.advisor | ภรดี พันธุภากร | |
dc.contributor.advisor | เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์ | |
dc.contributor.author | ลำใย กาพรัด | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T03:59:40Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T03:59:40Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8569 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยบุปผชาติ: เครื่องประดับเซรามิค ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของบุปผชาติการออกแบบเครื่องประดับเซรามิคโดยทำการทดลองผสมผสานร่วมกับวัสดุอื่น ๆ เพื่อพัฒนางานออกแบบเครื่องประดับเซรามิครูปแบบใหม่ การวิจัยในครั้งนี้จะได้ต้นแบบเครื่องประดับเซรามิคที่ได้รับแรงบันดาลใจจากบุปผชาติที่ผู้วิจัยสนใจและประทับใจมากที่สุด จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ ดอกผกากรอง ดอกกุหลาบ ดอกชบา ดอกเข็ม และดอกพุทธรักษา โดยใช้เทคนิควิธีการตกแต่งด้วยการผสมสีในเนื้อดินการตกแต่งด้วยวิธีการเขียนสีใต้เคลือบ และการตกแต่งด้วยวิธีการเขียนสีบนเคลือบ ผสมผสานกับการใช้วัตถุดิบอื่น ๆ เช่น เชือกเทียนหรือเชือกหนัง ลวดสำหรับดัดทำเครื่องประดับโซ่ทำเครื่องประดับ ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้จะเป็นการพัฒนาเครื่องประดับเซรามิครูปแบบใหม่ที่ได้แรงบันดาลใจจากบุปผชาติทั้ง 5 ชนิด ให้มีความสวยงามด้านศิลปะที่มีคุณค่า และเครื่องประดับในแต่ละชุด มีสีสันสดสวย บ่งบอกถึงความงดงามและความเป็นธรรมชาติของบุปผชาติมีรูปแบบที่แปลกใหม่ เหมาะสมกับการใช้งานและมีลักษณะโดดเด่นสอดคล้องกันภายในชุด ซึ่งผ่านการประเมินความพึงพอใจ โดยร้านผู้ประกอบการเครื่องประดับ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ และผู้ที่ชื่นชอบเครื่องประดับเซรามิคในระดับมากที่สุด (4.65) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ประติมากรรมเครื่องเคลือบดินเผา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | เซรามิก | |
dc.title | บุปผชาติ : ครื่องประดับเซรามิก | |
dc.title.alternative | Flowers inspirtion : cermic jewelry | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The research “Flowers Inspiration: Ceramic Jewelry” aimed at studying about flowers characteristic, designing ceramic accessory by mixing and matching materials, and developing new technique of ceramic accessory with flower inspiration. The resultsgained the sets of ceramic jewelry design models inspired by 5 kinds of flowers: lantana, rose, hibiscus, ixora, and canna, selecting from the researcher’s most inspiration flowers, using colored clay and underglazed coloring technique, mixing and matching materials, such as wax cord, leather cord, thin wire, and accessory chain. This research was the development of new technique of ceramic jewelry inspired by the 5 selected kinds of flowers with the beauty of color, natural feeling, remarkable style, easy to wear, stand out design, and selected sets; the ceramic dealers, the design experts, and the group of people who admired ceramic jewelry revealed the high level of positive satisfaction in evaluation (4.65). | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา |