dc.contributor.advisor |
ชูศักดิ์ สุวิมลเสถียร |
|
dc.contributor.advisor |
ภรดี พันธุภากร |
|
dc.contributor.author |
หลินอี้, จาง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
Linyi, Zhang |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T03:49:33Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T03:49:33Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8535 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยเรื่อง “การพัฒนาชุดชาโลหะของชนชาติไป๋ อำเภอเฮ่อชิ่ง : การสร้างสรรค์สู่ความร่วมสมัย” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและความเชื่อของชนชาติไป๋ หมู่บ้าน ซินหัว และศึกษารูปแบบลวดลาย ขั้นตอนการผลิต เทคนิคและกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมโลหะของชนชาติไป๋ อำเภอเฮ่อชิ่งเพื่อค้นหาดีเอ็นเอทางวัฒนธรรมและออกแบบ ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมโลหะในรูปแบบใหม่ที่สะท้อนอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชนชาติไป๋ อำเภอเฮ่อชิ่ง จากการศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ความเชื่อ สภาพแวดล้อมในภูมิภาค สถาปัตยกรรมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชนชาติไป๋ในหมู่บ้านซินหัว อำเภอเฮ่อชิ่งพบว่า ดีเอ็นเอทางวัฒนธรรมมีความเกี่ยวข้องกับน้ำ หัตถกรรมโลหะโบราณ วัสดุจำพวกทองแดง เงิน และรูปแบบลวดลายทางศิลปะ ทั้งนี้ เมื่อนำดีเอ็นเอที่ค้นพบมาประยุกต์ใช้ร่วมกับการออกแบบชุดเครื่องชาโลหะด้วยการผสมผสานคุณลักษณะทางวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมของชนชาติไป๋และแปลเป็นความหมายใหม่ที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่างคนสมัยใหม่กับชุดน้ำชา พบว่า สามารถทำให้หัตถกรรมโลหะของอำเภอเฮ่อชิ่งมีรูปแบบที่ทันสมัยมากขึ้น ได้รับการพัฒนาไปควบคู่กับเทคโนโลยีสมัยใหม้ปลุกจิตสำนึกของคนยุคใหม่ให้ตระหนักถึงความงามของวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมและความสำคัญของหัตถกรรมแบบดั้งเดิม ตลอดจนก่อให้เกิดการอนุรักษ์และสืบทอด เอกลักษณ์ประจำชาติของชนกลุ่มน้อย สร้างคุณค่าและความเชื่อมั่นในวัฒนธรรมชาติพันธุ์ของตนเองได้ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ |
|
dc.subject |
หัตถกรรม -- จีน |
|
dc.subject |
เครื่องเคลือบดินเผา -- จีน |
|
dc.title |
การพัฒนาชุดชาโลหะของชนชาติไป๋ อำเภอเฮ่อชิ่ง : การสร้างสรรค์สู่ความร่วมสมัย |
|
dc.title.alternative |
Heqing district, bi ethic metl hndicrfts te set development: contemporry cretive |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research called “Heqing district, Bai ethic metal handicrafts tea set development: Contemporary creative”, aims to study history, culture and beliefs of Bai ethic in Xinhua village. And Study pattern, production process, techniques and processes for Developing Metal Handicraft Products of Bai ethic in Heqing district. To search for cultural DNA and design new metal handicrafts that reflect the cultural identity of the Bai ethic in Heqing district. Based on historical studies, cultures, beliefs, regional, environments, architecture and lifestyle of the Bai ethic in Xinhua village was found cultural DNA is associated with water, Ancient Metal Crafts, Copper, silver, and artistic patterns. When the DNA was found to be applied to the design of the tea set, the combination of the traditional cultural features of the Bai ethic and translated into a new meaning that emphasizes the relationship between modern and tea sets was found can make the Heqing district’s metal handicrafts have more modern style, metal handicrafts can developed in conjunction with modern technology, raise awareness of the Young people these days to be aware of the beauty of traditional culture and the importance of traditional crafts. It also contributes to the conservation and inheritance of ethnic identity of the minority, Create value and confidence in their own ethnic culture. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
ทัศนศิลป์และการออกแบบ |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|