DSpace Repository

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ชาอันฮุยหวงซานเหมาเฟิงตามแนวคิดสโลว์ดีไซน์

Show simple item record

dc.contributor.advisor อินทิรา พรมพันธุ์
dc.contributor.advisor บุญชู บุญลิขิตศิริ
dc.contributor.author ลู,หยาง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.contributor.other Lu, Yang
dc.date.accessioned 2023-06-06T03:49:33Z
dc.date.available 2023-06-06T03:49:33Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8534
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ตามแนวคิด สโลว์ ดีไซน์และนำความรู้ที่ได้มาออกแบบบรรจุภัณฑ์ชาอันฮุยหวงซานเหมาเฟิงโดยปรับปรุงให้บรรจุภัณฑ์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แสดงออกถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นแต่โบราณ ทั้งยังช่วยให้เกิดการสื่อสารแลกเปลี่ยนอารมณ์ระหว่างกันของผู้ใช้งานและตัวผลิตภัณฑ์ซึ่งจะช่วยลดปัญหาการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่พบในปัจจุบัน เช่นปัญหาบรรจุภัณฑ์ที่สิ้นเปลืองเกินจำเป็น และยังช่วยเผยแพร่แนวคิดการออกแบบบรรจุภัณฑ์ตามแนวคิด สโลว์ ดีไซน์อันเป็นแขนงหนึ่งของทฤษฎี สโลว์ มูฟเมนต์ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น หลังเสร็จสิ้นการวิจัยผู้วิจัยยังพบว่าการออกแบบตามแนวคิด สโลว์ ดีไซน์เหมาะสมกับวัฒนธรรมการดื่มชาของจีนเป็นอย่างมาก ในการวิจัยนี้ผู้วิจัยได้ดำเนินการลงพื้นที่เข้าสำรวจสถานที่จริงที่เขาหวงซาน แหล่ง เพาะปลูกชาหวงซานอันฮุยเหมาเฟิง ซึ่งเป็นหนึ่งในสิบของสุดยอดชาสำหรับประเทศจีน และได้นำขั้นตอนกระบวนการผลิตใบชาเหมาเฟิงด้วยแรงงานคนตามแบบโบราณมาใช้เป็นแรงบันดาลใจในงานออกแบบชิ้นนี้โดยผู้วิจัยได้คำนึงถึงหลักการนำมาใช้ซ้ำ และหลีกเลี่ยงการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ใช้วัสดุสิ้นเปลืองเกินความจำเป็นเพื่อช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ผู้วิจัยยังได้ดำเนินการสำรวจเพื่อให้ได้บรรจุภัณฑ์ที่มีรูปลักษณ์และประโยชน์การใช้ สอยที่สอดคล้อง ตอบสนองความพึงพอใจของผู้บริโภคได้มากที่สุด ผู้วิจัยได้สำรวจความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน และกลุ่มผู้บริโภคซึ่งเป็นชาวบ้านในท้องถิ่น จำนวน 67 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental sampling) เครื่องมือที่ใช้วิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจในตัวบรรจุภัณฑ์ที่ครอบคลุม โดยในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ซึ่งผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มช่วงอายุ 15-30 ปี รวมทั้งสิ้น 28 คน ให้คะแนนเฉลี่ยความพอใจอยู่ที่ 4.52 (พอใจมากที่สุด) 2. กลุ่มช่วงอายุ 31-50 ปี รวมทั้งสิ้น 23 คน ให้คะแนนเฉลี่ยความพอใจอยู่ที่ 4.11 (พอใจมาก) 3. กลุ่มช่วงอายุ 51 ปีขึ้นไป รวมทั้งสิ้น 16 คน ให้คะแนนเฉลี่ยความพอใจอยู่ที่ 4.23 (พอใจมาก) ผลปรากฏว่าค่าเฉลี่ยทั้งหมดผ่านเกณฑ์และอยู่ในเกณฑ์สูงตามที่ผู้วิจัยกำหนดไว้ คำแนะนำเพิ่มเติมจากกลุ่มตัวอย่างคือ ควรต่อยอดการออกแบบตามแนวคิดสโลว์ ดีไซน์นี้ ให้ครอบคลุมไปถึง กาน้ำชา และชุดน้ำชาด้วย เพื่อให้ได้ชิ้นงานที่อยู่ในแนวคิดสโลว์ดีไซน์อย่างครบถ้วนตั้งแต่ใบชาที่ใช้ต้มไปจนถึงอุปกรณ์ที่ใช้ชงชา
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subject บรรจุภัณฑ์ -- จีน
dc.subject บรรจุภัณฑ์ -- การออกแบบ
dc.title การออกแบบบรรจุภัณฑ์ชาอันฮุยหวงซานเหมาเฟิงตามแนวคิดสโลว์ดีไซน์
dc.title.alternative The pckging design of n hui hung shn mo feng te ccording to the slow design theory
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aims to study a designation of An hui huang shan mao feng tea packaging according to the concept of slow design theory. In addition to create a nice tea packaging which is eco-friendly, folk art culture represented, makes interactive between consumers and products, slove problems within present package designation and promote movement theory to consumers. The research found that slow design theory is fit for the Chinese tea culture. Researcher went to inspected Huang shan mountain: the original source of An hui huang shan mao feng tea, one of China’s ten famous tea, then researcher have taken a process to traditional craftsmanship of An hui huang shan mao feng tea used as an inspiration for a tea packaging design. This research has been designed to make it reusable and avoid over-packaging. In addition, the researcher also conducted a survey of professionals and local customers with comprehensive questionnaires to comply with the packaging appearance, function and satisfaction of the consumer. According to the average from accidental sampling survey of67 local customers, researcher found that 1. The packaging designgot a 4.52 satisfaction points (most satisfaction) from local customers in ages rank of15-30 yearsold, sum 28 persons. 2. The packaging designgot a 4.11 satisfaction points (very satisfaction) from local customers in ages rank of 31-50 yearsold, sum 23 persons. 3. The packaging designgot a 4.23 satisfaction points (very satisfaction) from local customers in ages rank of51 yearsoldand upper, sum 16 persons. Allof the result arepassedresearcher’s standard. Local customers also give researcher some suggestion; thisdesignation should add more teapot as all same styleof tea set.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline ทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.name ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account