dc.contributor.advisor | เทพศักดิ์ ทองนพคุณ | |
dc.contributor.advisor | ปิติวรรธน์ สมไทย | |
dc.contributor.author | จุนชิว, เฉียน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.contributor.other | Junqiu, Qian | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T03:49:25Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T03:49:25Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8528 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 | |
dc.description.abstract | การถ่ายทอดอารมณ์ผ่านลักษณะทางสีสัน อารมณ์จากสีสันนั้นเป็นจิตวิญญาณภายในของมนุษย์และแน่นอนว่าไม่สามารถถ่ายทอดออกมาได้โดยง่าย เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้นจากจิตใจภายใน เกิดขึ้นเพราะอารมณ์ความรู้สึก ทั้งนี้จะต้องตั้งอยู่บนความชำนาญและต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสีแต่ละรูปแบบ สีจึงเป็นส่วนสำคัญในการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกอย่างดีภายใต้อิทธิพลของ ความเชื่อและปัจจัยทางวัฒนธรรมทางสังคมที่ต่างกัน แสดงออกผ่านสีสันโดยการวาดภาพที่สามารถทำให้ผู้ชมนั้นเข้าถึงความรู้สึกที่ต้องการสื่อออกมาได้อย่างชัดเจน ในขณะเดียวกันก็มีความงดงามทางศิลปะและแฝงไปด้วยความหมาย เป็นการศึกษาเพื่อจับประเด็นหลัก ๆ 3 ประการ คือ 1. อิสรภาพของสี 2. ความสมดุลของความรู้สึกกับการสร้างสรรค์ศิลปะและ 3.ความสัมพันธ์ระหว่างสีกับอารมณ์ความรู้สึกและเหตุนี้จึงได้ใช้ประสบการณ์ใช้ชีวิตในประเทศไทยเป็นแรงบัลดาลใจในการสร้างผลงาน ซึ่งแบ่งเป็น 6 ช่วงอารมณ์ที่ต่างกัน ได้แก่ 1 ช่วงที่ตัวเอง ช่วงที่ 2 อยากรู้อยากเห็น ช่วงที่ 3 สงสัย ช่วงที่ 4 ตื่นตัว ช่วงที่ 5 ความรู้สึกที่สะเทือนอารมณ์ ช่วงที่ 6 กลับมาที่ตัวเองอีกครั้ง จาก 6 ช่วงอารมณ์ที่นั้นมีการเก็บรายละเอียดอย่างต่อเนื่อง เพื่อค้นหาอารมณ์จากเฉดสีของตัวเองในแต่ละช่วงและขั้นสุดท้าย นำโครงสร้างของภาพ สีและอารมณ์มาวิเคราะห์ลักษณะและถ่ายทอด ออกมาบนภาพวาดได้อย่างเหมาะสม แม้จะมีองค์ประกอบอื่นเช่นโครงสร้างภาพ แต่สีคือสิ่งสำคัญที่สุดในการสื่อถึงอารมณ์อย่างชัดเจนและหวังว่าจะทำให้ผู้ชมเข้าใจและสามารถรับรู้ถึงความหมายจากความสวยงามในผลงาน เข้าใจในแนวความคิดของผู้ที่ประสบความสำเร็จเข้าใจถึงภูมิปัญญาที่สามารถนำสีสันและอารมณ์มาผสมผสานเพื่อสร้างผลงาน และสามารถมีทิศทางของศิลปะทางอารมณ์ของตัวเองได้รวมถึงการใช้ทฤษฎีแบร์กซอง ในเรื่องของสัญชาตญาณ เป็นแรงบันดาลใจ ในการหาที่มาของความคิดที่เป็นนามธรรม และใช้วิธีมองภาพรวมผนวกกับความคิดส่วนตัว ถ่ายทอดออกมาทางศิลปะเพื่อให้สามารถมองเห็นถึงการสร้างสรรค์ผลงานที่โดดเด่นจากกระบวนการ ตั้งแต่แรกเริ่มจนจบเป็นเพียงแค่ช่วงอารมณ์ประเภทหนึ่งและสิ่งนี้เองที่เป็นทั้งหมดของการถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์โดยผ่านทางผลงาน | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ความรู้สึก | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.subject | สี -- แง่จิตวิทยา | |
dc.subject | สี | |
dc.title | การศึกษาอารมณ์ความรู้สึกที่เกิดจากสี เพื่อนำมาสร้างผลงานจิตรกรรมที่แสดงอารมณ์ความรู้สึกเฉพาะตน | |
dc.title.alternative | The study of emotionl color to crete pinting for unique-emotion expression | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The color of human emotion is the instinct from the heart which couldn’t be driven arbitrarily. It is an intuitive response that is inspired by natural color. On the basis of color knowledge, we need to learn and observe how did those drawing masters from western countries, China and Thailand who are under the impact of different times, regions, believes and culture balance the emotion and color in their paintings, how did they create emotional color paintings with their special characters inside and how did they make their paintings appreciable so that people can understand the meaning of the painting. The liberation of color, integration of emotion and art creation and the important relationship between color and emotion are the three key points that I learned from master paintings. Inspired by these three points, my three-year’s learning in Thailand could be divided into 6 emotional stages which are ego, curiosity, doubt, feeling, consciousness and regress respectively. After creating several drafts, the emotional colors of different emotional stages have been found. Furthermore, through continually analyzing the content, composition, color and emotion of my previous paintings, the relationship between color and emotion has been successfully expressed in my painting, which enhanced my emotion and sight of art and creating. Similarly, I hope viewers can feel the coexistence of meaning and beauty from my painting visually and emotionally. I try to find my own direction of art by understanding the successful theory of others and comprehending how to melt emotion into art works. Moreover, I can acquire the source of inspiration and find the dominant language of artistic expression through Henri Bergson’s intuitionism and ultimately, I can create great paintings which can prove “ontology”. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์และการออกแบบ | |
dc.degree.name | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา |