dc.contributor.advisor |
บุญชู บุญลิขิตศิริ |
|
dc.contributor.advisor |
ภรดี พันธุภากร |
|
dc.contributor.author |
ฮงจุน, ลิน |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T03:44:58Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T03:44:58Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8511 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาอัตลักษณ์ของอาหารว่างยูนนาน 3 ประเภทคือ อาหารว่างประเภทเส้นก๋วยเตี๋ยว แผ่นแป้ง และเต้าหู้เพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาสร้างสรรค์เป็นผลงานสารคดีสั้นที่มีเนื้อหาสำคัญมาจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ 4 ท่าน เกี่ยวกับภูมิหลัง ประสบการณ์ และการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของอาหารว่างยูนนานเรื่อง “รสชาติแห่งบ้านเกิด” ผลการศึกษาพบว่า มณฑลยูนนานเป็นแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และเป็นถิ่นอาศัยของชนกลุ่มน้อยจำนวน 26 ชนชาติ ทำให้อาหารยูนนานมีรสชาติที่โดดเด่นจากการผสมผสานข้ามวัฒนธรรม โดยอาหารประเภท “อาหารว่าง” เป็นอาหารที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เพราะเป็นอาหารที่หากินได้ง่าย วัตถุดิบที่ใช้ทำอาหารว่างคือ ผักสด เนื้อสัตว์และเครื่องปรุงรสตาม เอกลักษณ์ท้องถิ่นทำให้มีความสดใหม่ มีกลิ่นหอม มีรสชาติเปรี้ยวเผ็ดและมีความจัดจ้านมากกว่า อาหารจีนในมณฑลอื่น ๆ โดยเฉพาะอาหารว่างในเมืองคุนหมิงและในอำเภอเจี้ยนสุ่ย 6 ชนิด ได้แก่ แป้งแผ่นกวนตู้ ก๊วยเตี๋ยวถั่วเหลือง ก๊วยเตี๋ยวเส้นใหญ่ช่วยกองทัพ ก๋วยเตี๋ยวหมูลวก ก๋วยเตี๋ยวข้าม สะพานและเต้าหู้ย่าง จนนำมาสู่การสร้างสรรค์ผลงานชุด “รสชาติแห่งบ้านเกิด: สารคดีสั้นเพื่อสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของอาหารว่างยูนนาน” ทั้งนี้ จากการประเมินผลความคิดเห็นเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานสารคดีสั้นในครั้งนี้ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 คนเห็นว่า สารคดีสั้นเรื่อง “รสชาติ แห่งบ้านเกิด” ใช้เทคนิคในการถ่ายทำ มีเนื้อหาสารคดีและประโยชน์ที่แฝงอยู่เป็นอย่างมากซึ่ง สามารถถ่ายทอดความรู้สึกและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับอาหารว่างยูนนานได้อย่างน่าติดตาม ทั้งนี้จากการสอบถามความคิดเห็นในกลุ่มผู้ชมที่เป็นนักเรียนระดับปริญญาตรี พบว่า สารคดีเรื่องนี้ สามารถดึงดูดให้กลุ่มทดลองมีความต้องการเข้ามารับชมได้เป็นอย่างดี สามารถทำให้เกิดการเรียนรู้ และเข้าใจประวัติศาสตร์ ความเป็นมาและวิธีการสืบทอดมรดกวัฒนธรรมของอาหารว่างได้อย่างเหมาะสมมากที่สุด อันทำให้สามารถดึงดูดให้คนรุ่นหลัง นักท่องเที่ยวและเจ้าของธุรกิจที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงคุณค่า คุณประโยชน์ และความสำคัญของสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่มีอยู่ในอาหารว่างยูนนานให้ยังคงได้รับการสืบทอด ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์สืบไป |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ |
|
dc.subject |
อาหารว่าง -- จีน |
|
dc.title |
"รสชาติแห่งบ้านเกิด"สารคดีสั้นเพื่อสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของอาหารว่างยูนนาน |
|
dc.title.alternative |
“Tste of home”: documentry is unique trditionl snck culture in yunnn |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aimed at finding identity of 3 types of Yunnan snacks: noodles, flour sheet and tofu. The information gained from this research will be used in a short documentary of which content is mostly presented through an interview of 4 locals specializing in background, history and cultural heritage preservation of Yunnan snacks. The documentary title is “Taste of Home”. The result showed that Yunnan province is a great natural source where 26 minorities live. Therefore, the taste of Yunnan snacks is distinct because of the mixture of various cultures. The “snacks” is the most popular and distinct amongst all types of food as they are easily to be found and taken. The common raw materials are vegetable, meat and condiment according to culture of each regions. It make the snacks smell fresh-made and good. Its sour and spicy tastes are stronger than the snacks from other regions, especially 6 snacks from Kunming and Jianshui cities, namely Kuantu flour sheet, big flat noodles for army assistance, noodles with parboiled pork, across-the-bridge noodles and grilled tofu. They are a source of the creation of documentary named “Taste of Home” which is a short documentary with the aim to preserve cultural heritage of Yunnan snacks. However, based on the evaluation of comments about the creation of this documentary, 5 specialists commented that the documentary named “Taste of Home” used filming techniques and contents about Yunnan snacks that are beneficial for the viewers. The documentary expresses the feeling and experience about Yunnan snacks that can bring the attention of the viewers. Base on the survey in undergraduate sample group, this documentary attracts their attention. It makes them learn and understand the history, and method of cultural preservation of their own snack food. This will make the next generation people, tourists and business owners realizes the value, advantage and importance of cultural symbol in Yunnan and continue promoting and preserving these snacks. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ทัศนศิลป์และการออกแบบ |
|
dc.degree.name |
ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|